ออกแอพตัวที่สอง “SurveyStar Calculator” สำหรับแอนดรอยด์

ย้อนไปสู่พื้นฐานงานสำรวจ (Back to the basic) ผมเคยบอกกันไว้ในบล็อกในบทความก่อนหน้านี้ว่าได้พัฒนาแอพพื้นฐานงานสำรวจ ชื่อเดิมที่ตั้งกันมาคือ SuperCOGO จากนั้นเปลี่ยนชื่อเป็น SurveyStar COGO สุดท้ายแล้วเปลี่ยนชื่อมาเป็น SurveyStar Calculator ในที่สุด เพราะว่าตัวแอพเองมีมากกว่า COGO ภาษาและเครื่องมือพัฒนาโปรแกรม (Dart &…

Continue Reading →

คอมไพล์และบิวท์ไลบราลี PROJ4 รุ่น 9.3.0 แบบเนทีฟสำหรับแอนดรอยด์

ตอนนี้น่าจะเป็นตอนที่ต่อจาก Dart & Flutter : เส้นทางขวากหนามกับไลบรารี PROJ แบบเนทีฟบนแอนดรอยด์ ครั้งก่อนผมคอมไพล์และบิวท์รุ่น 9.1.0 เพื่อนำไลบรารีมาใช้กับแอพ Ezy Geo Pro สำหรับแอนดรอยด์ ตอนนี้ผ่านมาหนึ่งปีผมต้องการอัพเดทไลบรารี PROJ4 รุ่น 9.3.0 ที่ตัวไลบรารีเองมีการแก้บั๊กซ์และเพิ่มฟีเจอร์ใหม่ๆ…

Continue Reading →

พัฒนาแอพตัวที่ 2 SurveyStar COGO

กำเนิดคำว่า “COGO” คำว่า “COGO” เป็นคำย่อรัสพจน์ที่เกิดจากการนำเอาอักษรย่อของชื่อเฉพาะหรือวลีมารวมกัน โดยคำว่า CO คำแรกย่อมาจาก Coordinate คำที่สอง GO ย่อมาจาก Geometry ย้อนไปในราวปี 1950 – 1960 ศาสตราจารย์ชารล์ แอล มิลเลอร์…

Continue Reading →

เปิดตัวแอพ “Ezy Geo Pro” บนไอโอเอส

คล้อยหลังการปล่อยแอพ Ezy Geo Pro บนแอนดรอยด์ได้หนึ่งเดือนกว่าๆ และแล้วผมก็พบกับความวิบากเลย สำหรับการเข็นแอพให้ผ่านการรีวิวจากแอปเปิ้ลสโตร์ มีทั้งหยุมหยิมและเรื่องใหญ่ เรื่องใหญ่ๆเช่นจะต้องมี Priavy policy จะต้องมี Term of use ให้ผู้ใช้อ่านได้สะดวก ต้องมีข้อความเตือนผู้ใช้ก่อนจะกด subscribe ผมส่งไปประมาณ 8…

Continue Reading →

เปิดตัวแอพแรก “Ezy Geo Pro” บนแอนดรอยด์

เปลี่ยนชื่อแอพ ในที่สุดผมก็เข็นครกดันเอาแอพรุ่นแรกสำหรับแอนดรอยด์ออกมาได้สำเร็จ “Ezy Geo Pro” เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2023 ที่ผ่านมาก ตัวแอพผ่านการเปลี่ยนชื่อมาแล้วหลายครั้งจาก “Thai Easy Geo” เป็น “A Ezy Geo” สุดท้ายเป็น “Ezy…

Continue Reading →

Dart&Flutter: ตกหลุมขวากกับไลบรารี PROJ แบบเนทีฟบน iOS

จะถือว่าเป็นตอนที่สองต่อจาก Dart & Flutter : เส้นทางขวากหนามกับไลบรารี PROJ แบบเนทีฟ ก็ได้ครับ หลังที่ผมปล้ำไลบรารี PROJ แบบเนทีฟตั้งแต่เขาซอร์สโค้ดภาษา C/C++ มาคอมไพล์ให้เป็นสถาปัตยกรรม Arm บนแอนดรอยด์ ไม่ง่ายครับประมาณเดินผ่านขวากหนามพอได้เลือดซิบๆ ตอนนี้มาถึงความโหดของการนำซอร์สโค้ดชุดเดียวกันมาคอมไพล์ให้เป็นสถาปัตยกรรม Arm เช่นเดียวกันแต่ไปรันบน…

Continue Reading →

Dart & Flutter : เส้นทางขวากหนามกับไลบรารี PROJ แบบเนทีฟบนแอนดรอยด์

เริ่มต้นจากศูนย์ที่ต้นซอยด้วยการพัฒนาแอพด้วยดาร์ทและฟลัตเตอร์ จากที่ยืนหันรีหันขวางแบบยืนงงว่าจะไปทางไหน ตอนนี้ภาษาดาร์ทได้เริ่มซึมซับเข้าสมองมาบ้างแล้ว เริ่มจากคลานตอนนี้พอจะเดินได้แบบเตาะแตะ เคยบอกไปว่าบนฟลัตเตอร์มีไลบรารี Proj4 ชื่อ Proj4Dart แต่มีปัญหาแปลงพิกัดได้คลาดเคลื่อนโดยเฉพาะระบบพิกัดรถไฟความเร็วสูงไทยจีนประมาณ 27 ซม. จนต้องถอยไปตั้งหลักว่าจะเอาไงดีสำหรับการจะใช้ไลบรารี PROJ บนแฟล็ตฟอร์มแอนดรอยด์และไอโอเอส ทางเลือกแรกใช้ปลั๊กอิน “Chaquopy” ทางแรกเท่าที่ลองคือเอาไลบรารีของไพทอนมารันบนฟลัตเตอร์ด้วย plug-in ชื่อ Chaquopy…

Continue Reading →

ไปกันให้สุดซอยกับ Dart & Flutter

ภาษาดาร์ท (Dart) ดาร์ท (Dart) เป็นภาษาที่อายุอานามประมาณบวกลบ 10 ปีได้ถือว่าเป็นภาษาโปรแกรมมิ่งที่ใหม่มาก ที่ประมวลเอาข้อดีของโปรแกรมรุ่นเก่าทั้งหลายทั้งมวล ส่วนฟลัตเตอร์ (Flutter) คือเฟรมเวิร์คสำหรับพัฒนาโปรแกรมแบบ cross platform ของกูเกิ้ลที่เขียนโค้ดครั้งเดียวสามารถนำไปรันได้ทั้ง วินโดส์ แมคโอเอส ลีนุกซ์ รวมทั้ง iOS และแอนดรอยด์ด้วย…

Continue Reading →

เมื่อลมพัดหวน : Kivy framework เครื่องมือพัฒนาแอพสำหรับโทรศัพท์มือถือ

จากที่ผมรอคอยโครงการ Beeware มาจะร่วมๆสามปีแล้ว แต่พบว่าความก้าวหน้าของโครงการมีการเคลื่อนไหวน้อยมากเหมือนจะหยุดนิ่งสนิท สำหรับโครงการ Beeware คือโครงการทำเครื่องมือพัฒนาโปรแกรมข้ามแพล็ตฟอร์มเพื่อให้ผู้ใช้งานพัฒนาซอฟท์แวร์ด้วยภาษาไพธอน ให้สามารถใช้งานได้ทุกแพล็ตฟอร์มอย่างหลากหลายโดยเฉพาะบนโทรศัพท์มือถือแอนดรอยด์และ iOS เป็นโครงการเปิดโค้ด (open-source) ที่อาศัยการระดมทุนเพื่อหาเงินให้โครงการสามารถเดินหน้าต่อไปได้ สำหรับ Kivy framework (ภาษาไทยออกเสียงกีวี เป็นคำพ้องเสียง Kiwi ที่เป็นชื่อผลไม้ชนิดหนึ่ง) ผมได้ศึกษาเบื้องต้นเมื่อเกือบจะสิบปีที่แล้ว…

Continue Reading →

ภาษาไพทอนสู่เครื่องคิดเลข HP Prime

ปกติเครื่องคิดเลข HP Prime G2 ที่ผมยกให้เป็นเทพของเครื่องคิดเลขด้านวิทยาศาสตร์ทั้งหลาย ผมเขียนโปรแกรมด้วยภาษา HP PPL หรือ Prime Programming Language คล้ายๆปาสคาลแต่บางอย่างคล้ายไพทอน จากทิศทางที่เครื่องคิดเลขระดับไฮเอ็นต์ของ Casio และ TI ได้นำร่องโดยเอาภาษาไพทอนลงเครื่องคิดเลขไปก่อนหน้านี้ โดยจริงๆแล้วไพทอนในเวอร์ชั่นของเครื่องคิดเลขจะถูกออปติไมซ์ให้ใช้กับเครื่องที่มีความเร็วซีพียูที่ช้าและแรมไม่มากนัก ที่ดังที่สุดได้แก่…

Continue Reading →