มาลองใช้ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ Spatialite ที่ทั้งเล็ก เร็ว และแรง ตอนที่ 2

ก่อนจะไปต่อผมอยากจะพูดถึงงาน FOSS4G 2010 มีการ present เรื่อง  “SpatiaLite, the Shapefile of the Future?” ตั้งเครื่องหมายคำถามไว้ด้วยว่า Spatialite จะเป็น shapefile ในอนาคตหรือไม่ ซึ่งที่ผ่านมาก็หลายปีแล้วครับ ที่ฐานข้อมูลแบบ Geodatabase…

Continue Reading →

มาลองใช้ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ Spatialite ที่ทั้งเล็ก เร็ว และแรง ตอนที่ 1

ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ที่กำลังดีวันดีคืน แต่ฐานข้อมูลจะดีแค่ไหนก็ตาม แต่ถ้า Application ทั้งหลายไม่สนับสนุนก็ยากที่จะอยู่ได้ หันมาดู Spatialite ตอนนี้ใน Quantum GIS สนับสนุนฐานข้อมูลนี้ในระดับที่พอใช้ได้ ก็คือสนับสนุนในระดับที่จำกัดที่ผมพบมาคือจะมองข้อมูล BLOB (Binary Large Object) ของ spatialite ซึ่งเป็นรูปถ่ายเป็น NULL…

Continue Reading →

การใช้ฐานข้อมูล SQLite กับ Lazarus ในเบื้องต้น (ตอนที่ 2)

ตอนที่แล้วผม post ตัวโค๊ดทั้งหมด มาดูคำอธิบายตรงสาระที่สำคัญ Declare ตัวแปรสำหรับ SQLite ที่ class ของ TfrmSetEllipsoid จะ declare เพื่อจัดการกับฐานข้อมูล SQLite ผม declare ทีส่วน private มีตัวแปร…

Continue Reading →

การใช้ฐานข้อมูล SQLite กับ Lazarus ในเบื้องต้น (ตอนที่ 1)

ตอนก่อนหน้านี้ผมพูดเรื่อง SQLite พร้อมทั้ง tools สำหรับ admin ที่หาได้ในวินโดส์ พร้อมทั้งการ Pump ข้อมูลจากไฟล์ CSV เข้าฐานข้อมูล ต่อไปนี้จะมาดูลึกเข้าไปอีกนิด จะมาเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับฐานข้อมูล ด้วย Lazarus ปัญหาของการพัฒนาโปรแกรมฐานข้อมูล SQLite ด้วย Lazarus…

Continue Reading →

แนะนำการใช้ฐานข้อมูล SQLite กับ Lazarus

ข้อดีของ SQLite พัฒนาโดย D. Richard Hipp ด้วยภาษา C จำนวนโค๊ดรวมๆแล้วประมาณสามหมื่นกว่าบรรทัด ซึ่งผู้พัฒนาได้รับคำชมว่าเป็นผู้ที่เข้าใจในวิทยาการด้านคอมพิวเตอร์อย่างลึกซึ้ง สำหรับ SQLite น่าจะเป็นฐานข้อมูลที่นิยมใช้กันมากที่สุดในโลก เนื่องจาก เล็ก เร็ว แรง และที่สำคัญมากคือ เสถียร และข้อดีอีกที่ไม่พูดไม่ได้คือ…

Continue Reading →