Pico W โครงการ #1 ทดลองประดิษฐ์ Pico Echo Sounder จากทรานสดิวเซอร์ Airmar DT800 (ตอนที่ 1)

ผมว่างเว้นจากไม่ได้จับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ไปพักใหญ่หลายปี เมื่อสิบกว่าปีที่แล้วเคยจับ Arduino เขียนโค้ดด้วยภาษาซี ก็สนุกดีได้ความรู้พอสมควร มาในปัจจุบันเป็นยุคของไอโอที (iOT : Internet of Thing) เป็นยุคของอินเทอร์เน็ตของสิ่งของที่ไม่ใช่อินเทอร์เน็ตของมนุษย์ สร้าง Echo sounder จากทรานสดิวเซอร์ Airmar DT800 มีโอกาสมาจับบอร์ด Raspberry…

Continue Reading →

เปิดตัวแอพ SurveyStar Quick TM

ในที่สุดก็ได้ฤกษ์เบิกโรงวันที่ 22 พค. 2567 (วันวิสาขะบูชา) ที่ผ่านผมได้ส่งแอพ SurveyStar Quick TM เพื่อให้กูเกิ้ลได้รีวิวและก็ผ่านเป็นที่เรียบร้อย โทรศัพท์มือถือแอนดรอยด์สามารถหาดาวน์โหลดกันได้ที่ SurveyStar Quick TM ช่องการติดต่อผู้พัฒนาแอพ ในกรณีมีการใช้มีปัญหาหรือหรือเจอบั๊กสามารถรายงานผ่านทางอีเมล์ในแอพได้ ที่แอพกดเมนูสามขีดแนวนอน จะเห็นเมลูลิ้นชักโผล่ออกมา เมื่อคลิกที่เมนู “Contact…

Continue Reading →

คำนวณพิกัดเส้นโครงแผนที่คลาดเคลื่อนต่ำแบบ Transverse Mercator (TM) ด้วยแอพ Quick TM (กำลังพัฒนา)

เส้นโครงความคลาดเคลื่อนต่ำแบบ TM ของโครงการรถไฟความเร็วสูง ไทย-จีน เส้นโครงแผนที่แบบคลาดเคลื่อนต่ำ (Low Distortion Projection: LDP) บ้านเราได้นำมาใช้หลายโครงการแล้ว ยกตัวอย่างคือรถไฟความเร็วสูง ไทย-จีน ซึ่งเป็นแบบเส้นโครงแผนที่แบบ TM ที่เป็นกรณีพิเศษที่นำทรงรีมาขยายขนาดทรงรี WGS84 ทำให้กลายเป็น Datum ตัวใหม่ไปโดยปริยาย ส่งผลให้การคำนวณยุ่งยากซับซ้อน…

Continue Reading →

คำนวณโค้งดิ่ง (Vertical Curve) ด้วยแอพ SurveyStar Calculator

โค้งดิ่ง (Vertical curve) ส่วนใหญที่นิยมใช้เป็นรูปทรงพาราโบลา ใช้ในงานทั่วไปโดยเฉพาะงานถนนจะพบเห็นโค้งดิ่งที่เป็นโค้งวงกลมได้บ้างแต่ไม่มากนัก ที่ผมพบเห็นคือใช้ในรถไฟฟ้าที่บังคลาเทศออกแบบ alignment โดยบริษัทญี่ปุ่น สูตรโค้งดิ่ง สมการทั่วไปของพาราโบลาคือ y = ax2 + bx + c ถ้าเรียนคณิตศาสตร์แบบ advanced มาหน่อย…

Continue Reading →

สร้างค่าพิกัดเสาเข็มกลุ่มแบบอัตโนมัติ (Pile Array Generator) ด้วยแอพ SurveyStar Calculator

ในงานก่อสร้างเสาเข็มกลุ่มจำพวก ฐานรากของสิ่งก่อสร้างเช่น อาคาร สะพานยกระดับ รถไฟฟ้า รถไฟความเร็วสูง เป็นต้น รูปแบบที่พบส่วนมากจะมีระยะห่างระหว่างเสาเข็ม (spacing) มีระยะที่คงที่และรูปแบบมีความสมมาตร (symmetry) โดยรูปแบบจะแตกต่างไปตามจำนวนเสาเข็มที่มาประกอบกันเป็นฐานราก รูปแบบเสาเข็มกลุ่ม การวาดตำแหน่งเสาเข็มในโปรแกรมจำพวกแคดต่างๆก็ไม่ได้ยากอะไร สำหรับการสร้างค่าพิกัดเสาเข็มกลุ่มแบบไว ขอแนะนำโมดูล Pile Array Generator ที่อยู่ในแอพ…

Continue Reading →

การประมวลผลข้อมูลโดรนด้วย Agisoft Metashape ด้วยการต่อแบบโครงข่าย (Network Processing)

เนื่องจากมีฟีเจอร์นี้ใน Metashape ผมเลยสงสัยถึงประสิทธิภาพว่าจะได้สักขนาดไหน ก็เลยมาทดสอบกันในเบื้องต้นดูกัน การทดสอบจะใช้ทรัพยากรแบบมินิมอลประกอบไปด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ 4 เครื่อง เครื่องแรงพอประมาณ 2 เครื่อง เครื่องธรรมดาอีก 2 เครื่อง ต่อกันเป็นเน็ตเวิร์คโดยใช้การ์ดไวร์เลสที่เราใช้กันทั่วๆไปต่อกับตัวเราเตอร์ ก็เหมือนกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เราต่อใช้งานในสำนักงานหรือที่บ้าน ที่พิเศษหน่อยในการทดสอบครั้งนี้คือข้อมูลจะถูกเก็บข้อมูลไว้บนเครื่อง NAS (Network Storage) จะมองว่าเป็นคอมพิวเตอร์เล็กๆอีกเครื่องหนึ่งก็ย่อมได้…

Continue Reading →

ออกแอพตัวที่สอง “SurveyStar Calculator” สำหรับแอนดรอยด์

ย้อนไปสู่พื้นฐานงานสำรวจ (Back to the basic) ผมเคยบอกกันไว้ในบล็อกในบทความก่อนหน้านี้ว่าได้พัฒนาแอพพื้นฐานงานสำรวจ ชื่อเดิมที่ตั้งกันมาคือ SuperCOGO จากนั้นเปลี่ยนชื่อเป็น SurveyStar COGO สุดท้ายแล้วเปลี่ยนชื่อมาเป็น SurveyStar Calculator ในที่สุด เพราะว่าตัวแอพเองมีมากกว่า COGO ภาษาและเครื่องมือพัฒนาโปรแกรม (Dart &…

Continue Reading →

การห้ามเครื่องคิดเลขที่มีฟังก์ชันเสริมเรขาคณิตเข้าห้องสอบวิชาวิศวกรรมสำรวจของสภาวิศกร

เมื่อวันอังคารที่ 21 พย. 2566 ศกนี้ ผมได้เข้าไปสอบทดสอบความรู้ความสามารถทางด้านวิศวกรรมสำรวจที่ทางสภาวิศวกรแห่งประเทศไทยได้จัดขึ้น ซึ่งได้แค่ Certificate นะครับไม่ถึงกว. ผมสอบสามวิชาคือ Surveying and Engineering surveingy (วิชาบังคับ), GNSS & Geodesy (วิชาเลือก) และ…

Continue Reading →

#Update ปรับปรุงธีมมืด Surveyor Pocket Tools

นานมากแล้วไม่ได้จับภาษาไพทอนอีกเลยเกือบจะร่วมๆสองปีแล้ว เพราะผมใช้เวลาว่างพัฒนาแอพด้วย Dart/Flutter ส่วนใหญ่ขลุกอยู่กับภาษาดาร์ทตลอดมาสองปี ไม่นานมานี้ได้กลับมาใช้ไพทอนอีกครั้ง นั่งงงกับโค้ดไพทอนที่เขียนไว้ว่าตัวเองมาทำอะไรที่นี่ สักพักใหญ่ๆค่อยๆรื้อฟื้นความจำ ในครั้งนี้ใช้ Visual Studio Code (VS Code) เพื่อแก้ไขโค้ดโปรแกรมแทนเดิมๆที่เคยใช้ Pycharm เพราะหลังจากใช้ VS Code ในการพัฒนาแอพด้วยภาษาดาร์ททำให้ติดใจ ชอบในความเบาและรองรับได้หลากหลายภาษามาก…

Continue Reading →

วิธีการออกแบบและรังวัดโครงข่าย GNSS ฉบับคนเดินถนน (ตอนที่ 2)

นับเป็นตอนที่ 2 ที่ใช้เวลาต่อจากตอนที่ 1 นานที่สุด เอาละครับมาสายดีกว่าไม่มา ตอนที่ 2 นี้มาว่ากันด้วยข้อมูลสนามแบบมินิมอล (minimal) เกือบจะที่สุด ส่วนใหญ่ข้อมูลที่ผมมีอยู่ก่อนหน้านี้จะเป็นข้อมูลที่รังวัดหลายหมุดและหลายคาบ (session) ค่อนข้างจะซับซ้อน ผมเลยจะนำเสนอข้อมูลที่รังวัดจากหน้างานล่าสุดไม่นานนี้ มีจำนวน 5 หมุด/5 เครื่อง ถ้ายังไม่ได้อ่านตอนที่…

Continue Reading →