การตั้ง Heading จาก RTK GNSS สองเครื่องใน Hypack

ถือว่าเป็นโน๊ตกันลืมสำหรับผมก็แล้วกัน ในงาน Bathymetric survey เอง ถ้าเป็นเรือเล็กๆ เราจะใช้ RTK ตัวเดียวก็เอาอยู่ ถึงแม้ตอนอยู่นิ่งๆมันจะหมุนในหน้าจอ Hypack ก็ตาม เนื่องจากเรือขนาดเล็กคล่องตัว บังคับง่าย เลี้ยวง่าย แต่ถ้าเป็นเรือใหญ่ขึ้นมาการเปลี่ยนทิศทางจะทำได้ยากกว่า ช้ากว่า ถ้าเรือใบจักรเดียวก็ยิ่งช้า ถ้าใบจักรคู่อาจจะเร็วขึ้นมาหน่อย แต่สุดท้ายคนขับเรือสำรวจและช่างสำรวจก็อยากได้ทิศทางหรือ…

Continue Reading →

เมื่อคลื่นลมแปรปรวน กับการใช้ Emlid RS2 บนความสูงโพล 15 เมตร

พื้นฐานดั้งเดิมของผมคือทำงานมารีนมาโดยตลอด สลับกับการทำงานบนบกบ้างเป็นบางคราว ครั้งนี้ไปทำงานก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าที่บังคลาเทศประมาณ 5 ปี ก็ได้หวนกลับสู่งานมารีนอีกคราคืองานก่อสร้างทางทะเลเป็นงานก่อสร้างเขื่อนกับคลื่นและทราย เป็นงานระดับเมกะโปรเจคโครงการหนึ่งทีเดียว เดือนสิงหาคม-ตุลาคมเป็นเดือนแห่งฤดูมรสุมที่คลื่นลมแรงจัด เนื่องจากเรือสำรวจเป็นเรือที่มีขนาดเล็กกินน้ำประมาณ 2.8 เมตร สภาพเรือเป็นเรือทำงาน (working boat) โครงสร้างเหล็กทั้งลำมาดัดแปลงเป็นเรือสำรวจ พอคลื่นลมแรงก็เป็นปัญหาไม่สามารถออกทำงานได้ด้วยอันตรายจากคลื่นสูงอาจจะทำให้เรือพลิกคว่ำได้ สำหรับบทความนี้ก็ขอเล่าประสบการณ์เซอร์เวย์ ที่ไม่เคยทำมาก่อนเป็นงานมารีน สำหรับงานสเป็คในงานสำรวจทางทะเลนั้นทั่วๆไปจะยอมให้ค่าความคลาดเคลื่อนได้สูงกว่างานบก เนื่องจากลักษณะส่วนใหญ่เป็นงานใต้น้ำ…

Continue Reading →