การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 5)

ทดสอบ OpenGPSX บน Ubuntu มาลองทดสอบกันบน Ubuntu Lucid ก็เริ่มจากดาวน์โหลดคอมโพเน็นต์ มาก่อน ทำการติดตั้งเหมือนในวินโดส์ ที่ผมกล่าวไปแล้ว เนื่องจากโค้ดของ Lazarus เป็น cross-platform โค้ดที่ใช้ใน Windows ก็สามารถนำมาใช้ได้เลยใน Linux แต่ติดขัดตรงโปรแกรมที่จะใช้ทดสอบ…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 4)

OpenGPSX component on SourceForge ผมได้นำ component ตัวนี้ไปใส่ใน SourceForge.net เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ถ้าต้องการตัวที่ update ก็ไปดาวน์โหลดกันได้เลยครับ หน้าตาของ OpenGPSX บน sourceforge ก็ประมาณดังรูปด้านล่าง จากตอนที่แล้วเราทำการแปะคอมโพเน็นต์ลงบนฟอร์ม เพื่อทดสอบอย่างง่าย ต่อไปจะเปิด…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 3)

ทำความเข้าใจเรื่อง Baud rate Blog ที่ผมเขียนเรื่องนี้คงจะมีหลายภาค ตอนนี้ภาค 3 จะมาเริ่มโปรแกรมมิ่งกัน เพื่อนำคอมโพเน็นต์ OpenGPSX มาใช้งาน ก่อนจะไปต่อผมขอพูดเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย เกี่ยวกับเรื่อง Baud rate กับ NMEA บางประโยคเช่น $GPGSV การต่อเครื่อง…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 2)

คอมโพเน็นต์ OpenGPSX Concept ของ component คือผู้พัฒนาโปรแกรมทั่วๆไปสามารถนำ component ของผมไปใช้งานได้ง่าย ใช้เวลาน้อย โดยไม่ต้องมีความรู้เรื่อง GPS มาก ผมเขียนคอมโพเน็นต์ตัวนี้ขึ้นมาเพราะผมใช้ GPS บ่อย ตั้งแต่เครื่องมือถือทั่วๆไปเช่น Garmin หรือบน Pocket PC…

Continue Reading →

มาลองใช้ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ Spatialite ที่ทั้งเล็ก เร็ว และแรง ตอนที่ 2

ก่อนจะไปต่อผมอยากจะพูดถึงงาน FOSS4G 2010 มีการ present เรื่อง  “SpatiaLite, the Shapefile of the Future?” ตั้งเครื่องหมายคำถามไว้ด้วยว่า Spatialite จะเป็น shapefile ในอนาคตหรือไม่ ซึ่งที่ผ่านมาก็หลายปีแล้วครับ ที่ฐานข้อมูลแบบ Geodatabase…

Continue Reading →

แจ่มจริงๆ Ubuntu Lucid กับสารพันโปรแกรมต่างๆที่ผมใช้งาน

Ubuntu Lucid หลังจากกลับจากต่างประเทศ ผมเพิ่งจะมีโอกาสได้อัปเกรด Ubuntu จาก Karmic เป็น Lucid ด้วย Update Manager ซึ่งก่อนหน้านี้การเปลี่ยนเวอร์ชั่น ต้องอาศัยการ install ใหม่ทั้งหมดทำให้เสียเวลาไปมาก เมื่อใช้ Update Manager ก็เสียเวลาดาวน์โหลดไฟล์ไม่นานนัก…

Continue Reading →

มาลองใช้ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ Spatialite ที่ทั้งเล็ก เร็ว และแรง ตอนที่ 1

ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ที่กำลังดีวันดีคืน แต่ฐานข้อมูลจะดีแค่ไหนก็ตาม แต่ถ้า Application ทั้งหลายไม่สนับสนุนก็ยากที่จะอยู่ได้ หันมาดู Spatialite ตอนนี้ใน Quantum GIS สนับสนุนฐานข้อมูลนี้ในระดับที่พอใช้ได้ ก็คือสนับสนุนในระดับที่จำกัดที่ผมพบมาคือจะมองข้อมูล BLOB (Binary Large Object) ของ spatialite ซึ่งเป็นรูปถ่ายเป็น NULL…

Continue Reading →