วิธีการออกแบบและรังวัดโครงข่าย GNSS ฉบับคนเดินถนน (ตอนที่ 2)

นับเป็นตอนที่ 2 ที่ใช้เวลาต่อจากตอนที่ 1 นานที่สุด เอาละครับมาสายดีกว่าไม่มา ตอนที่ 2 นี้มาว่ากันด้วยข้อมูลสนามแบบมินิมอล (minimal) เกือบจะที่สุด ส่วนใหญ่ข้อมูลที่ผมมีอยู่ก่อนหน้านี้จะเป็นข้อมูลที่รังวัดหลายหมุดและหลายคาบ (session) ค่อนข้างจะซับซ้อน ผมเลยจะนำเสนอข้อมูลที่รังวัดจากหน้างานล่าสุดไม่นานนี้ มีจำนวน 5 หมุด/5 เครื่อง ถ้ายังไม่ได้อ่านตอนที่…

Continue Reading →

ดาวค้างฟ้า DJI Phantom 4 Pro/Advanced กับโดรนมือสอง

ราชาแห่งโดรน DJI Phantom 4 Pro รุ่นแรกออกมาขายในปี 2559 ผ่านมาเจ็ดปี ยังเป็นดาวค้างฟ้าแห่งการบินถ่ายทำแผนที่ทางอากาศ เพราะอะไร วันนี้จะมาสาธยายกันให้ฟัง Mechanic Shutter เดือนพฤศจิกายน 2559 DJI ได้ปล่อยรุ่น Phamtom 4 Pro…

Continue Reading →

เมื่อคลื่นลมแปรปรวน กับการใช้ Emlid RS2 บนความสูงโพล 15 เมตร

พื้นฐานดั้งเดิมของผมคือทำงานมารีนมาโดยตลอด สลับกับการทำงานบนบกบ้างเป็นบางคราว ครั้งนี้ไปทำงานก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้าที่บังคลาเทศประมาณ 5 ปี ก็ได้หวนกลับสู่งานมารีนอีกคราคืองานก่อสร้างทางทะเลเป็นงานก่อสร้างเขื่อนกับคลื่นและทราย เป็นงานระดับเมกะโปรเจคโครงการหนึ่งทีเดียว เดือนสิงหาคม-ตุลาคมเป็นเดือนแห่งฤดูมรสุมที่คลื่นลมแรงจัด เนื่องจากเรือสำรวจเป็นเรือที่มีขนาดเล็กกินน้ำประมาณ 2.8 เมตร สภาพเรือเป็นเรือทำงาน (working boat) โครงสร้างเหล็กทั้งลำมาดัดแปลงเป็นเรือสำรวจ พอคลื่นลมแรงก็เป็นปัญหาไม่สามารถออกทำงานได้ด้วยอันตรายจากคลื่นสูงอาจจะทำให้เรือพลิกคว่ำได้ สำหรับบทความนี้ก็ขอเล่าประสบการณ์เซอร์เวย์ ที่ไม่เคยทำมาก่อนเป็นงานมารีน สำหรับงานสเป็คในงานสำรวจทางทะเลนั้นทั่วๆไปจะยอมให้ค่าความคลาดเคลื่อนได้สูงกว่างานบก เนื่องจากลักษณะส่วนใหญ่เป็นงานใต้น้ำ…

Continue Reading →

ประยุกต์ใช้ TGM2017 กับ Emlid RS2 บนแอพ SW Maps

คู่ขวัญแห่งโลกที่สาม Emlid RS2 คืออุปกรณ์ GNSS ขวัญใจโลกที่สาม ส่วน SW Maps คือแอพทางด้าน GIS & Survey ที่ฟรีและเป็นขวัญใจโลกที่สามเช่นเดียวกัน พัฒนาโดยโปรแกรมเมอร์ชาวเนปาล ชื่อเสียงของ SW Maps ในแวดวง GNSS…

Continue Reading →

เมื่อลมพัดหวน : Kivy framework เครื่องมือพัฒนาแอพสำหรับโทรศัพท์มือถือ

จากที่ผมรอคอยโครงการ Beeware มาจะร่วมๆสามปีแล้ว แต่พบว่าความก้าวหน้าของโครงการมีการเคลื่อนไหวน้อยมากเหมือนจะหยุดนิ่งสนิท สำหรับโครงการ Beeware คือโครงการทำเครื่องมือพัฒนาโปรแกรมข้ามแพล็ตฟอร์มเพื่อให้ผู้ใช้งานพัฒนาซอฟท์แวร์ด้วยภาษาไพธอน ให้สามารถใช้งานได้ทุกแพล็ตฟอร์มอย่างหลากหลายโดยเฉพาะบนโทรศัพท์มือถือแอนดรอยด์และ iOS เป็นโครงการเปิดโค้ด (open-source) ที่อาศัยการระดมทุนเพื่อหาเงินให้โครงการสามารถเดินหน้าต่อไปได้ สำหรับ Kivy framework (ภาษาไทยออกเสียงกีวี เป็นคำพ้องเสียง Kiwi ที่เป็นชื่อผลไม้ชนิดหนึ่ง) ผมได้ศึกษาเบื้องต้นเมื่อเกือบจะสิบปีที่แล้ว…

Continue Reading →

แปลงรูปแบบไฟล์แบบจำลองความสูงจีออยด์ TGM2017 เป็น GEM เพื่อใช้ในโปรแกรม SKI-Pro & LGO

ที่ผ่านมาผมได้จัดทำรูปแบบไฟล์ TGM2017 จากต้นฉบับเดิมให้มีรูปแบบหลากหลายสามารถนำไปใช้ในโปรแกรมต่างๆ เช่น รูปแบบ GTX, GGF ส่วนรูปแบบ PGM ที่เอื้อเฟื้อจัดทำโดยดร.ไพศาล สันติธรรมนนท์ แต่ก็มีน้องๆทัดทานมาว่ารูปแบบ Leica Geoid Model (GEM) น่าจะยังไม่มีคนจัดทำ Leica Geoid Model…

Continue Reading →

DIY: โครงการเรือสำรวจรีโมทไร้คนขับ (Unmanned Survey Vessel ) ตอนที่ 2 – สร้างลำเรือ ติดตั้งอุปกรณ์และทดสอบ

ขั้นตอนที่ 1 สร้างลำเรือ ผมทำงานอยู่ต่างประเทศ เมื่อกลับมาพักในเมืองไทยก็พอมีโอกาสได้ลองสร้างลำเรือต้นแบบ เริ่มต้นจากไปซื้อพลาสวู๊ดจากโกลบอลเฮาส์มาหนึ่งแผ่น ราคาสามร้อยกว่าบาท ยอมรับว่าไม่เคยใช้มาก่อน เอาแบบลำเรือที่ปริ๊นท์มาทาบลงไป ลากเส้นแล้วทำการตัดด้วยมีดคัตเตอร์ ไม่ยากตัดง่าย แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นคือพลาสวู๊ดนั้นเปราะไม่เหนียวทำให้หักง่ายเมื่อต้องดัดให้ได้รูปร่างที่ต้องการ จากนั้นต่อชิ้นส่วนด้วยกาวร้อน จะได้รูปร่างของเรือ ขั้นตอนที่ 2 เสริมความแข็งแรงด้วยไฟเบอร์กลาส ใช้นำ้ยาเรซิ่นผสมน้ำยาตัวเร่งที่เหมาะสม ใช้แปรงจุ่มน้ำยาผสมทาที่ลำเรือด้านล่างก่อน เอาแผ่นใยแก้วหรือไพเบอร์กลาสทาบลง…

Continue Reading →

ย้อนรอยวิธีสร้างไฟล์รูปแบบ PGM ของ TGM2017 สำหรับใช้ใน GeographicLib

ผมได้เขียนบล็อกเกี่ยวกับ TGM2017 (Thailand Geoid Model 2017) มาหลายตอนแล้ว ไม่นานมานี้ทางรุ่นพี่ที่เคารพอาจารย์ดร.ไพศาล สันติธรรมนนท์ ได้วานให้ตรวจสอบไฟล์ TGM2017-1.PGM ที่ทางอาจารย์ได้สร้างไว้ด้วยโค้ดไพทอนเพื่อนำมาใช้ในไลบรารี GeographicLib ผมทดสอบแล้วใช้งานได้ดี ในขณะเดียวกันผมเห็นว่าน่าสนใจเพราะสามารถเผยแพร่การใช้งาน TGM2017 ให้ใช้งานได้หลากหลายในวงกว้างยิ่งๆขึ้นไป ผมขอสรุปรูปแบบการใช้งานดังนี้ รูปแบบแอสกี้: TGM2017.ASC…

Continue Reading →

OpenDroneMap – การคำนวณโดยการใช้จุดบังคับภาพถ่าย (Ground Control Point) ตอนที่ 2

ตอนที่ 1 ผมนำเสนอการปรุจุดเพื่อกำหนดจุดบังคับภาพถ่าย (Ground Control Point) แบบวิ่งควาย ที่อาศัยแรงกันเป็นหลัก ได้ไฟล์มาตั้งชื่อ “gcp_list_Computation_WGS84_UTM32N.txt” เอามาลงอีกครั้งด้านล่าง สร้างโปรเจคคำนวณ กลับมาที่ WebODM วิธีการใช้ติดตามตอนแรกได้ที่ ลิ๊งค์ นี้ คลิกที่ “+Add Project”…

Continue Reading →

แปลงรูปแบบไฟล์แบบจำลองความสูงจีออยด์ TGM2017 เป็น GGF เพื่อใช้ในโปรแกรม Trimble Business Center

สำหรับแบบจำลองโมเดลจีออยด์ความละเอียดสูงของไทย TGM2017 ที่ผมแปลงเป็นรูปแบบ NOAA VDatum binary grid (gtx) นำมาใช้งานกับโปรแกรม Surveyor Pocket Tools แต่ก็มีโปรแกรมอื่นๆเช่น Trimble Business Center ที่ต้องการรูปแบบที่ต่างออกไปคือ Trimble Geoid Grid…

Continue Reading →