เดโม “อาปาเช่ 4” เรือรีโมทคอนโทรล สำหรับสำรวจหยั่งน้ำ (Bathymetric survey)

ผมมีโอกาสได้ลองเรือ CHCNav รุ่นอาปาเช่ 4 เป็นเรือรีโมทคอนโทรล ทางทีมงานของ CHCNav มาเดโมให้ดู ส่วนผมเป็นผู้สังเกตุการณ์ด้านข้าง วันนี้จะมาพูดคุยถึงแง่มุมเรือรีโมทในมุมมองของผมที่ทำมาหากินในด้าน hydrographic survey มาหลายสิบๆปี ส่วนใหญ่งานก่อสร้างทางทะเลที่ผมทำงานอยู่ด้วยน้อยนักที่จะเจอทะเลเรียบยิ่งหน้ามรสุมไม่ต้องพูดถึงคลื่นแรงลมแรงและบางทีมีฝนตกหนักด้วย วันนี้สถานที่วิ่งเรือสำรวจด้วยอาปาเช่ 4 จะเป็นพื้นที่พิเศษเป็นพื้นที่ทางทะเลแต่คลื่นเรียบเนื่องจากพื้นที่ที่จะมาเดโมเรือจะเป็นพื้นที่ก่อสร้างถมทะเล ที่ตอนนี้ได้สร้างเขื่อนหินเป็นแกนล้อมรอบพื้นที่ที่จะถมทะเลในส่วนแกนหินนี้จะบดบังคลื่นจากธรรมชาติที่จะเข้ามาในพื้นที่นี้ทำให้พื้นผิวน้ำเรียบเหมือนทะเลสาบ ความลึกเฉลี่ยของน้ำทะเลประมาณอยู่ประมาณ 5…

Continue Reading →

Sound Velocity Profiler (SVP) นั้นสำคัญไฉนกับงาน Bathymetric Survey

ในงานสำรวจหยั่งน้ำ Bathymetric survey ที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้าง ซึ่งบางงานต้องการ Accuracy ถึงระดับหลักเซนติเมตร งานก่อสร้างทางทะเลเช่นงานถมทะเล (Reclamation) ตลอดจนงานขุดลอก (Dredging) โดยเฉพาะงานขุดลอกถ้าเป็นงานใหญ่ๆระดับปริมาณขุดลอกเป็นล้านคิวขึ้นไป หรือถ้าปริมาณขุดลอกระดับสิบล้านคิวถือว่าเป็นงานใหญ่มากและซีเรียสเรื่อง Accuracy พอสมควร ความเร็วเสียงในน้ำ (Sound Velocity) โจทย์ก็คือจะทำอย่างไรให้งานสำรวจหยั่งน้ำได้ความถูกต้องขนาดนี้ สำหรับเครื่อง…

Continue Reading →

DIY: โครงการเรือสำรวจรีโมทไร้คนขับ (Unmanned Survey Vessel ) ตอนที่ 2 – สร้างลำเรือ ติดตั้งอุปกรณ์และทดสอบ

ขั้นตอนที่ 1 สร้างลำเรือ ผมทำงานอยู่ต่างประเทศ เมื่อกลับมาพักในเมืองไทยก็พอมีโอกาสได้ลองสร้างลำเรือต้นแบบ เริ่มต้นจากไปซื้อพลาสวู๊ดจากโกลบอลเฮาส์มาหนึ่งแผ่น ราคาสามร้อยกว่าบาท ยอมรับว่าไม่เคยใช้มาก่อน เอาแบบลำเรือที่ปริ๊นท์มาทาบลงไป ลากเส้นแล้วทำการตัดด้วยมีดคัตเตอร์ ไม่ยากตัดง่าย แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นคือพลาสวู๊ดนั้นเปราะไม่เหนียวทำให้หักง่ายเมื่อต้องดัดให้ได้รูปร่างที่ต้องการ จากนั้นต่อชิ้นส่วนด้วยกาวร้อน จะได้รูปร่างของเรือ ขั้นตอนที่ 2 เสริมความแข็งแรงด้วยไฟเบอร์กลาส ใช้นำ้ยาเรซิ่นผสมน้ำยาตัวเร่งที่เหมาะสม ใช้แปรงจุ่มน้ำยาผสมทาที่ลำเรือด้านล่างก่อน เอาแผ่นใยแก้วหรือไพเบอร์กลาสทาบลง…

Continue Reading →

บอกเล่าประสบการณ์งานสำรวจ Hydrographic Survey ในเบื้องต้น

งานสำรวจทางอุทกศาสตร์ (Hydrographic Survey) จากประสบการณ์ของผมที่ผ่านมาเกี่ยวกับงาน Hydrographic survey สักประมาณ10 ปีกว่า อยากจะเล่าเรื่องประสบการณ์งานสำรวจด้านนี้ ซึ่งงานสำรวจทางน้ำ(ขอเรียกสั้นๆ)เมื่อเทียบกับงานสำรวจด้าน Land survey จะเป็นส่วนน้อยมาก มาดูกันว่างานสำรวจด้านนี้มีอะไรบ้าง มีจุดมุ่งหมายอะไร นำไปประยุกต์ใช้กันอย่างไร แต่ก็ต้องออกตัวว่าประสบการณ์ของผมที่ผ่านมาด้านนี้เป็นเพียงงาน scale เล็กๆ ไม่ใหญ่โตอะไรนัก…

Continue Reading →