ออกแอพตัวที่สอง “SurveyStar Calculator” สำหรับแอนดรอยด์

ย้อนไปสู่พื้นฐานงานสำรวจ (Back to the basic) ผมเคยบอกกันไว้ในบล็อกในบทความก่อนหน้านี้ว่าได้พัฒนาแอพพื้นฐานงานสำรวจ ชื่อเดิมที่ตั้งกันมาคือ SuperCOGO จากนั้นเปลี่ยนชื่อเป็น SurveyStar COGO สุดท้ายแล้วเปลี่ยนชื่อมาเป็น SurveyStar Calculator ในที่สุด เพราะว่าตัวแอพเองมีมากกว่า COGO ภาษาและเครื่องมือพัฒนาโปรแกรม (Dart &…

Continue Reading →

เปิดตัวแอพแรก “Ezy Geo Pro” บนแอนดรอยด์

เปลี่ยนชื่อแอพ ในที่สุดผมก็เข็นครกดันเอาแอพรุ่นแรกสำหรับแอนดรอยด์ออกมาได้สำเร็จ “Ezy Geo Pro” เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2023 ที่ผ่านมาก ตัวแอพผ่านการเปลี่ยนชื่อมาแล้วหลายครั้งจาก “Thai Easy Geo” เป็น “A Ezy Geo” สุดท้ายเป็น “Ezy…

Continue Reading →

อัพเดท : ปรับปรุงผลการคำนวณแปลงค่าพิกัดโครงการรถไฟความเร็วสูง ไทย-จีน ให้ละเอียดถึงทศนิยมของมิลลิเมตรด้วย Surveyor Pocket Tools

จากรุ่นก่อนหน้านี้ของ Surveyor Pocket Tools นั้นสามารถแปลงค่าพิกัดในระบบ The First Construction Coordinate System ได้อย่างไม่มีปัญหา แต่ความละเอียดจะถูกลดทอนลง 3-4 มม. เมื่อใช้คำนวณ The Third Construction Coordinate System…

Continue Reading →

มหาเทพ HP Prime G2 ตอนโปรแกรมคำนวณโค้งดิ่ง (Vertical Curve)

บทความเครื่องคิดเลข HP Prime G2 นับเป็นบทความที่ 3 จากโค้งราบ (Horizontal Curve) มาสู่โค้งสไปรัล (Spiral Curve) และในบทความนี้จะมาปิดที่โค้งดิ่ง (Vertical Curve) สำหรับโค้งทั้งหลายเหล่านี้นำมาประยุกต์ใช้กับงานถนน, รถไฟ และรถไฟฟ้า โค้งดิ่ง (Vertical…

Continue Reading →

ปฐมฤกษ์โปรแกรมแรกบนเครื่องคิดเลขเทพเหนือเทพ HP Prime G2 (Horizontal Curve)

หนึ่งเดือนที่ผมจับเครื่องคิดเลขเอชพี ไพรม์ รุ่นจีทู ราคาแปดพันห้าร้อยบาทนับว่าเป็นเครื่องคิดเลขที่ราคาสูงที่สุดที่ผมเคยเป็นเจ้าของมา มีฟังก์ชั่นเยอะมาก วาดกราฟสามมิติได้ แต่ผมไม่ได้ใช้ จะไม่ขอพูดถึง สถาปัตยกรรมใช้ซีพียูแกน ARM Cortex A7 ความเร็ว 528 MHz มีแรม 256 MB และแฟลชรอม 512 MB หน้าจอแสดงผลขนาด…

Continue Reading →

ย้อนรอยวิธีสร้างไฟล์รูปแบบ PGM ของ TGM2017 สำหรับใช้ใน GeographicLib

ผมได้เขียนบล็อกเกี่ยวกับ TGM2017 (Thailand Geoid Model 2017) มาหลายตอนแล้ว ไม่นานมานี้ทางรุ่นพี่ที่เคารพอาจารย์ดร.ไพศาล สันติธรรมนนท์ ได้วานให้ตรวจสอบไฟล์ TGM2017-1.PGM ที่ทางอาจารย์ได้สร้างไว้ด้วยโค้ดไพทอนเพื่อนำมาใช้ในไลบรารี GeographicLib ผมทดสอบแล้วใช้งานได้ดี ในขณะเดียวกันผมเห็นว่าน่าสนใจเพราะสามารถเผยแพร่การใช้งาน TGM2017 ให้ใช้งานได้หลากหลายในวงกว้างยิ่งๆขึ้นไป ผมขอสรุปรูปแบบการใช้งานดังนี้ รูปแบบแอสกี้: TGM2017.ASC…

Continue Reading →

OpenDroneMap – การคำนวณโดยการใช้จุดบังคับภาพถ่าย (Ground Control Point) ตอนที่ 2

ตอนที่ 1 ผมนำเสนอการปรุจุดเพื่อกำหนดจุดบังคับภาพถ่าย (Ground Control Point) แบบวิ่งควาย ที่อาศัยแรงกันเป็นหลัก ได้ไฟล์มาตั้งชื่อ “gcp_list_Computation_WGS84_UTM32N.txt” เอามาลงอีกครั้งด้านล่าง สร้างโปรเจคคำนวณ กลับมาที่ WebODM วิธีการใช้ติดตามตอนแรกได้ที่ ลิ๊งค์ นี้ คลิกที่ “+Add Project”…

Continue Reading →

แนะนำโปรแกรมงานคำนวณภาพถ่ายทางอากาศ(โดรน) ด้วย OpenDroneMap (ฟรี) ตอนที่ 2

ตอนที่ 1 ผมได้แนะแนววิธีการติดตั้ง OpenDroneMap ไปอย่างย่อและได้แนะนำลิ๊งค์ให้ไปดูกันต่อที่ละเอียดมาก มาในตอนนี้มาทดสอบวิธีการคำนวณจากชุดภาพตัวอย่าง ODMData ตามไปที่ลิ๊งค์นี้ จะเห็นข้อมูลภาพชุดตัวอย่าง (Dataset) ในฐานะที่ผมเป็นช่างสำรวจ ผมสนใจชุดภาพที่มี GCPs (Ground Control Points) และชุดภาพที่มีค่าพิกัดจาก RTK ติดมาที่แท็กหรือ Exif…

Continue Reading →

Update : โปรแกรม Surveyor Pocket Tools คำนวณความสูงจีออยด์ จากไฟล์ค่าพิกัดภูมิศาสตร์

ในกรณีที่ต้องการค่าความสูงจีออยด์จากจุดที่มีจำนวนมากตัวอย่างเช่นเป็นสิบจุดขึ้นไป การมานั่งคำนวณทีละจุดคงไม่ใช่เรื่องที่สะดวกนัก ผมปรับปรุงโปรแกรมให้สามารถอ่านไฟล์ค่าพิกัดภูมิศาสตร์ (ละติจูดและลองจิจูด) ในรูปแบบ CSV ที่ใช้ตัวแบ่งด้วยเครื่องหมายคอมมา “,” ค่าพิกัดละติจูดและลองจิจูด ต้องเป็นรูปแบบทศนิยม (degree) เท่านั้น การจัดเรียงค่าพิกัดของให้ขึ้นต้นด้วยค่าลองจิจูดตามด้วยเครื่องหมายคอมม่าและค่าละติจูด ไฟล์ทดสอบ ไฟล์ที่จะมาทดสอบโปรแกรม ผมสร้างจากโค้ดภาษาไพทอน ให้สุ่มจำนวนจุดค่าพิกัดขึ้นมา 10000 จุด โดยให้ค่าพิกัดที่สุ่มอยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมนี้คือ…

Continue Reading →

ทดสอบคำนวณหาความสูงจีออยด์ TGM2017 ด้วยไลบรารี Proj.4

ไม่นานมานี้มีผมดาวน์โหลดไฟล์โปรแกรมและข้อมูลของ TGM2017 เรียกเต็มๆคือ Thailand Geoid Model 2017 ที่เป็นโครงการร่วมมือจากหลายๆฝ่ายของทางราชการ ผมยังไม่มีโอกาสได้นำไปใช้งาน โดยเฉพาะจะนำมาประยุกต์ใช้ในงานรังวัด GNSS ถือว่าเป็นสิ่งที่พวกเรารอคอยมานานที่จะได้มี local geoid model มาใช้งานกัน โดยเฉพาะงานรังวัด GNSS เมื่อคำนวณแล้วจะได้ค่าพิกัดทางราบ และทางดิ่งจะได้ความสูง…

Continue Reading →