วิธีการออกแบบและรังวัดโครงข่าย GNSS ฉบับคนเดินถนน (ตอนที่ 2)

นับเป็นตอนที่ 2 ที่ใช้เวลาต่อจากตอนที่ 1 นานที่สุด เอาละครับมาสายดีกว่าไม่มา ตอนที่ 2 นี้มาว่ากันด้วยข้อมูลสนามแบบมินิมอล (minimal) เกือบจะที่สุด ส่วนใหญ่ข้อมูลที่ผมมีอยู่ก่อนหน้านี้จะเป็นข้อมูลที่รังวัดหลายหมุดและหลายคาบ (session) ค่อนข้างจะซับซ้อน ผมเลยจะนำเสนอข้อมูลที่รังวัดจากหน้างานล่าสุดไม่นานนี้ มีจำนวน 5 หมุด/5 เครื่อง ถ้ายังไม่ได้อ่านตอนที่…

Continue Reading →

RTK ตระกูล Emlid สามารถใช้ TGM2017 ได้แล้วโดยตรง

ทางทีมงานผมได้ซื้อ Emlid RS2 มาสองเครื่อง ราคาเครื่องละ 80000 บาท รวมสองเครื่องก็ 160000 บาท ซึ่งถือว่าเป็นราคาที่ถูกมาก ราคาที่ถูกจะต้องแลกมากับบางอย่างซึ่งผมจะได้กล่าวต่อไป เครื่องมือสำหรับงาน Stake out จุดสลบของอุปกรณ์ RTK นอกจากเรื่องฮาร์ดแวร์แล้วยังมีเรื่องของซอฟแวร์ ได้แก่แอพที่จะใช้งาน construction…

Continue Reading →

การต่อ Emlid RS2 แบบบลูทูธเข้ากับ Hypack

ขวัญใจโลกที่สาม สำหรับ Emlid RS2 ที่ทางทีมงานผมได้สั่งเข้ามาทดลองใช้งานก่อนสองชุดเนื่องจากเป็นอุปกรณ์ RTK มีราคาถูกมาก ประมาณชุดละแปดหมื่นบาท ขอยืมคำพูดคุณปฐมพงศ์ สทล.12 มาใช้ว่า Emlid คือ “ขวัญใจของโลกที่สาม” ด้วยราคาที่ถูก ประสิทธิภาพพอตัว รุ่นนี้นอกจากวัด RTK ได้ปกติแล้วยังสามารถรังวัด Static…

Continue Reading →

วิธีการออกแบบและรังวัดโครงข่าย GNSS ฉบับคนเดินถนน (ตอนที่ 1)

ผมว่าในปัจจุบันนี้ ช่างสำรวจหรือวิศวกรสำรวจคงมีประสบการณ์การรังวัด GNSS ด้วยกันทุกคน โดยเฉพาะการรังวัดที่มีจำนวนหมุดมากกว่าสามหมุดขึ้นไป ก็ออกตัวตามชื่อบทความนะครับคือฉบับคนเดินถนน ไม่ใช่ฉบับผู้เชี่ยวชาญใดๆ เป็นแค่ end user คนหนึ่งกลั่นมาจากอ่านตำราและประมวลมาจากประสบการณ์ทำงานที่ลองผิดลองถูกและจากผิดพลาดของตัวผมเอง ในการรังวัดโครงข่าย GNSS ในที่นี้จะมาขอเน้นเรื่องคาบการรังวัด (session), เส้นฐานอิสระ(independent baseline) และ เส้นฐานไม่อิสระ(dependent (trivial)…

Continue Reading →