แนะนำโปรแกรมมิ่งภาษาซีบนเครื่องคิดเลข Casio fx-9860G II SD ด้วยเครื่องมือพัฒนา SDK ของ Casio

เคยเกริ่นมาก่อนว่าต้องการเขียนบทความนี้ขึ้นมาเพื่อวงการศึกษาบ้านเราที่สนใจเรื่องโปรแกรมมิ่งบนเครื่องคิดเลขสามารถจะพัฒนาโปรแกรมภาษาซีบน Casio fx-9860G II SD หรือรุ่นที่ใกล้เคียงนี้ได้ โดยที่มีไม่มีข้อจำกัดด้านภาษาโปรแกรมมิ่ง เหมือนกับภาษา casio basic อาจจะส่งผลให้ในอนาคต มีโปรแกรมที่พัฒนาโดยบุคคลากรท่านอื่นๆ เข้ามาสู่วงการนี้มากขึ้น และได้ตัวโปรแกรมงานสำรวจที่มีความหลากหลายและความสามารถมากขึ้นทั้งนี้เพื่อขยายขีดความสามารถโปรแกรมบนเครื่องคิดเลขให้สามารถคิดงานที่ยาก ซับซ้อนได้ บางครั้งเกือบจะเทียบเท่าโปรแกรมที่ใช้งานบนคอมพิวเตอร์ เครื่องมือพัฒนา Software Development Kit (SDK)…

Continue Reading →

เริ่มต้น Python ด้วย PySide2 + Miniconda + PyCharm

ขอนำเสนอวิธีการติดตั้งในเบื้องต้นเพื่อใช้ PySide2 สำหรับผู้ที่เริ่มต้นศึกษาเขียนไพทอน บางครั้งไม่รู้จะเริ่มต้นตรงไหน ผมจะขอแนะนำสามสหายที่จะมาช่วยทำให้ชีวิตง่ายขึ้น PySide2 อยู่ระหว่างการพัฒนาจากเจ้าของ Qt framework เองจึงไม่ต้องห่วงว่าโครงการจะล้มลาเลิกร้างกันก่อน ฟรีและมีสัญญาอนุญาตแบบ LPGL v2 สามารถพัฒนาโปรแกรมเพื่อการค้าได้ รุ่นเสถียรอีกไม่นานนักน่าจะออกมาแล้ว Miniconda3 เป็นส่วนหนึ่งของ Anaconda ซึ่งเป็นเฟรมเวิร์คสำหรับการทำ data science สำหรับภาษาไพทอน…

Continue Reading →

ก้าวที่ใกล้กับโปรแกรมเขียนรูปตัดตามขวาง XSection Plot รุ่นใหม่

ก้าวที่ผ่านมา ผ่านมาครึ่งปีกว่าแล้วก็ยังไม่เสร็จตามสัญญา แต่โปรแกรมก็คืบหน้าไปพอสมควรครับ ขอเท้าถึงความหลังหน่อยว่าโปรแกรมรุ่นเดิมเขียนด้วย VB ที่นับอายุอานามแล้วจะใกล้ๆ 20 ปีเข้าไปแล้ว ผมนำโปรแกรมมาพัฒนาใหม่ด้วยของฟรีดีมีคุณภาพ Python3 + Qt5 แรกก็ตะกุกตะกักพอสมควรเนื่องจากยังใหม่กับ Python และเป็นครั้งแรกที่ใช้  Qt สำหรับ Python ที่ว่ากันว่าเรียนง่ายเขียนง่าย แต่สำหรับผมที่เขียนด้วยภาษาอื่นมานมนานก็ต้องบอกว่า…

Continue Reading →