แนะนำ beeware เครื่องมือพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาไพทอนแบบเนทีฟสำหรับโทรศัพท์มือถือ

ผมได้ติดตามเป็นแฟนของ beeware มาได้ประมาณร่วมๆจะสองปีแล้วครับ beeware เป็นแพล็ตฟอร์มพัฒนาโปรแกรมแบบ cross-platform ที่อ้างว่าสามารถพัฒนาโปรแกรมแบบ desktop ได้ทั้งวินโดส์ ลีนุกซ์และแมคโอเอส รวมไปถึงแอนดรอยด์และไอโอเอส ปกติผมใช้ PySide2 สำหรับโปรแกรมบนเดสค์ท็อปอยู่แล้วเลยไม่รู้สึกตื่นเต้นตรงที่สนับสนุนโปรแกรมบนเดสค์ท็อปเท่าไหร่นัก แต่สำหรับภาษาไพทอนที่จะไปใช้ได้แบบเนทีฟ (native) บนโทรศัพท์มือถือแอนดรอยด์และไอโอเอส ยอมรับว่าตื่นเต้นพอสมควร ความนิยมภาษาไพทอนในปัจจุบันเป็นที่นิยมมาก เป็นที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเรียนรู้ง่าย…

Continue Reading →

เริ่มต้น Python ด้วย PySide2 + Miniconda + PyCharm

ขอนำเสนอวิธีการติดตั้งในเบื้องต้นเพื่อใช้ PySide2 สำหรับผู้ที่เริ่มต้นศึกษาเขียนไพทอน บางครั้งไม่รู้จะเริ่มต้นตรงไหน ผมจะขอแนะนำสามสหายที่จะมาช่วยทำให้ชีวิตง่ายขึ้น PySide2 อยู่ระหว่างการพัฒนาจากเจ้าของ Qt framework เองจึงไม่ต้องห่วงว่าโครงการจะล้มลาเลิกร้างกันก่อน ฟรีและมีสัญญาอนุญาตแบบ LPGL v2 สามารถพัฒนาโปรแกรมเพื่อการค้าได้ รุ่นเสถียรอีกไม่นานนักน่าจะออกมาแล้ว Miniconda3 เป็นส่วนหนึ่งของ Anaconda ซึ่งเป็นเฟรมเวิร์คสำหรับการทำ data science สำหรับภาษาไพทอน…

Continue Reading →

หนทางข้างหน้าของ Traverse Pro ที่พัฒนาด้วย Lazarus (ตอนที่ 2)

พัฒนาและปรับปรุงต่อ ก็ต่อจากตอนที่ 1 ตอนนี้ผมปรับมาเป็นรุ่น 2.0.1 built 5727 พยายามโค๊ดเท่าที่เวลาเอื้ออำนวยครับ ปรับเรื่องตัวหนังสือภาษาไทยและเรื่อง print preview ปัญหาของตัวหนังสือ Unicode หลังจาก update โปรแกรมมาได้พักหนึ่ง ผมก็พบกับปัญหา 2 เรื่องคือเรื่อง Unicode…

Continue Reading →

หนทางข้างหน้าของ Traverse Pro ที่พัฒนาด้วย Lazarus (ตอนที่ 1)

ทำไมต้องพัฒนาและปรับปรุง โปรแกรมคำนวณวงรอบ (Traverse Pro) สำหรับช่างสำรวจ/ช่างโยธา ที่ผม post ไว้ใน blog และเปิดให้ดาวน์โหลด ก็มีคนเข้ามาดูและดาวน์โหลดไปทดลองใช้กันพอสมควร ถ้าโปรแกรมจะมีประโยชน์บ้างก็ขอเป็นวิทยาทานให้กับช่างสำรวจ/ช่างโยธาในเมืองไทยเรา ผมใช้ Ubuntu อยู่หลายปีก็รู้สึกว่าชอบ ก็คงเหมือนแฟนๆ Ubuntu ท่านอื่นๆ ที่รัก Ubuntu…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมคำนวณแปลงพิกัดระหว่าง Datum ด้วยไลบรารี GDAL/OGR (ตอนที่ 2)

รูปด้านล่างแสดงตัว object ที่วางลงบนฟอร์มประกอบด้วย 2 combobox เก็บ datum ซึ่งผมจำกัดไว้แค่เท่าที่ประเทศไทยใช้กัน ส่วนตัวอื่นๆ ก็ไม่มีอะไรมาก มี Textbox จำนวน 4 ตัวสำหรับให้ผู้ใช้โปรแกรมกรอกค่าพิกัดที่ต้องการแปลง และ Label จำนวน 4 ตัวเพื่อแสดงค่าพิกัดที่แปลงแล้ว…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณระยะทางและอะซิมัท (Distance/Azimuth) บน Ellipsoid ด้วย Lazarus (ตอนที่ 1)

ตอนก่อนหน้านี้ ผมเขียนโปรแกรมแปลงพิกัดระหว่าง UTM และ Geographic (Lat/Long) และและถ้าไม่เขียนการหาระยะทางและอะซิมัท (เมื่อกำหนดจุด Latitude, Longitude ให้สองจุด) ก็ดูจะขาดอะไรไปอย่าง Model ที่ใช้ในการคำนวณ สัณฐานหรือรูปทรงที่ใช้แทนโลก ใช้กันอยู่ 2 แบบ คือ ทรงกลม(Spherical)และทรงรี(Ellipsoid)…

Continue Reading →

ติดตั้ง Lazarus แบบ Subversion บน Linux อย่างไรให้สำเร็จ

ผมเชื่อว่าคงมีหลายท่านอยากจะใช้หรือทดลอง Lazarus ดู ส่วนใหญ่เลือกจะติดตั้งจาก package เช่น Debian หรือ RPM ซึ่งจะได้ version ใหม่กว่าการใช้ Synaptic อยู่เล็กน้อย แต่เมื่อใช้เปิดโปรแกรม lazarus มา load package (.lpk)…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมคำนวณการแปลงค่าพิกัดระหว่าง UTM Grid และ Geographic (Lat/Long) ด้วย Lazarus และ Delphi (ตอนที่ 3)

จากตอนที่ 2 จะเห็นโค๊ดที่ผม post 2 unit คือ GeoEllipsoids.pas และ GeoCompute.pas ถ้าสนใจก็ copy ไปวางที่ Text Editor แล้ว Save ชื่อไฟล์ตามที่ผม เราจะเริ่มต้นสร้าง New…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมคำนวณการแปลงค่าพิกัดระหว่าง UTM Grid และ Geographic (Lat/Long) ด้วย Lazarus และ Delphi (ตอนที่ 2)

สูตรที่ใช้ในการคำนวณ ผมอ้างอิงมาจาก http://www.uwgb.edu/dutchs/UsefulData/UTMFormulas.htm เขียนโดย Steve Dutch กล่าวถึงสูตรที่นำมาใช้คำนวณแปลงค่าพิกัด โดยอ้างถึง U.S. Army Corps of Engineer และ USGS (U.S. Geological Survey Professional) ถ้าเป็นการแปลงจาก…

Continue Reading →