การเล็งสกัดย้อน (Resection) ด้วยการวัดมุมภายใน ระยะทางและและมุมแบริ่งด้วยวิธีการคำนวณแบบ Least Squares (ตอนที่ 2)

 ตั้งสมการ Observation Equation ขอทบทวน ค่า aik, bik  เรียกว่า  direction coefficients และ  cik, dik เรียกว่า distance coefficients ในกรณีวัดมุมเล็งสกัดย้อนจากสมการด้านบนและเอาแทนที่ในสมการด้านล่าง เขียนให้ดูง่ายดังนี้  zi  คือค่าอะซิมัทเริ่มต้น…

Continue Reading →

การเล็งสกัดย้อน (Resection) ด้วยการวัดมุมภายใน ระยะทางและและมุมแบริ่งด้วยวิธีการคำนวณแบบ Least Squares (ตอนที่ 1)

จากที่เขียนโปรแกรมสำหรับเครื่องคิดเลขคำนวณเล็งสกัดย้อนสำหรับเครื่องคิดเลข Casio fx-9860G II SD ทำให้นึกถึงวิธีการคำนวณแบบ least squares ที่เป็นพื้นฐานเคยร่ำเรียนมา โดยเฉพาะการรังวัดในปัจจุบันที่การรังวัดระยะทางด้วยกล้องประมวลผลรวมทำได้ง่าย เมื่อรวมกับการรังวัดมุม จะทำให้มีค่าเกินหรือ redundant มาคำนวณในวิธีแบบ least square ได้ การรังวัดแบบเล็งสกัดย้อนบางตำราเรียกว่า free station…

Continue Reading →

Update: โปรแกรมคำนวณเล็งสกัดย้อนฉบับปรับปรุง (Resection) สำหรับเครื่องคิดเลขเทพ Casio fx 9860G II SD

ผมเขียนเรื่องการคำนวณเล็งสกัดย้อน (Resection) จากตอนก่อนหน้านี้ด้วยอัลกอริทีมใหม่ของ Josep M. Font-Llagunes อ่านได้ที่ ติดปีกเครื่องคิดเลขเทพ Casio fx 9860G II SD ด้วยโปรแกรมภาษาซีบน AddIn ตอนที่ 5 โปรแกรมคำนวณ Resection ด้วยอัลกอริทึ่มสมัยใหม่ ในตอนนี้ผมจะมาเรียบเรียงโปรแกรมด้วยไลบรารี…

Continue Reading →

ติดปีกเครื่องคิดเลขเทพ Casio fx 9860G II SD ด้วยโปรแกรมภาษาซีบน AddIn ตอนที่ 5 โปรแกรมคำนวณ Resection ด้วยอัลกอริทึ่มสมัยใหม่

การเล็งสกัดย้อน (Resection) และความเป็นมา ในที่สุดก็มาถึงตอนที่ 5 ตอนที่ผมใช้เวลามากที่สุดในการ implement อัลกอริทึ่มที่ใช้คำนวณปัญหา Resection จาก 3 จุดที่กำหนด (Three Points Resection Problem) เป็นที่ทราบกันดีว่าการคำนวณ Resection นั้นนักคณิตศาสตร์ได้คิดค้นกันมาหลายร้อยปีแล้ว มีอัลกอริทึ่มรวมๆกันไม่น้อยกว่า…

Continue Reading →