หนทางข้างหน้าของ Traverse Pro ที่พัฒนาด้วย Lazarus (ตอนที่ 1)

ทำไมต้องพัฒนาและปรับปรุง โปรแกรมคำนวณวงรอบ (Traverse Pro) สำหรับช่างสำรวจ/ช่างโยธา ที่ผม post ไว้ใน blog และเปิดให้ดาวน์โหลด ก็มีคนเข้ามาดูและดาวน์โหลดไปทดลองใช้กันพอสมควร ถ้าโปรแกรมจะมีประโยชน์บ้างก็ขอเป็นวิทยาทานให้กับช่างสำรวจ/ช่างโยธาในเมืองไทยเรา ผมใช้ Ubuntu อยู่หลายปีก็รู้สึกว่าชอบ ก็คงเหมือนแฟนๆ Ubuntu ท่านอื่นๆ ที่รัก Ubuntu…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 6 ตอนจบ)

เครื่องรับสัญญาณ GPS ที่จะนำมาทดสอบ คงจะเป็นตอนสุดท้ายแล้ว มาลองทดสอบด้วยอุปกรณ์จริงๆ เพื่อทดสอบการรับข้อมูลที่เป็น NMEA จากเครื่องรับ GPS ก่อนหน้านี้ผมเคยลองด้วย GPS Trimble 5700 ด้วยการใช้สาย Serial ต่อที่ Port 2 ของเครื่อง (เครื่องรุ่นนี้มีช่องต่ออยู่…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 5)

ทดสอบ OpenGPSX บน Ubuntu มาลองทดสอบกันบน Ubuntu Lucid ก็เริ่มจากดาวน์โหลดคอมโพเน็นต์ มาก่อน ทำการติดตั้งเหมือนในวินโดส์ ที่ผมกล่าวไปแล้ว เนื่องจากโค้ดของ Lazarus เป็น cross-platform โค้ดที่ใช้ใน Windows ก็สามารถนำมาใช้ได้เลยใน Linux แต่ติดขัดตรงโปรแกรมที่จะใช้ทดสอบ…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 4)

OpenGPSX component on SourceForge ผมได้นำ component ตัวนี้ไปใส่ใน SourceForge.net เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ถ้าต้องการตัวที่ update ก็ไปดาวน์โหลดกันได้เลยครับ หน้าตาของ OpenGPSX บน sourceforge ก็ประมาณดังรูปด้านล่าง จากตอนที่แล้วเราทำการแปะคอมโพเน็นต์ลงบนฟอร์ม เพื่อทดสอบอย่างง่าย ต่อไปจะเปิด…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 3)

ทำความเข้าใจเรื่อง Baud rate Blog ที่ผมเขียนเรื่องนี้คงจะมีหลายภาค ตอนนี้ภาค 3 จะมาเริ่มโปรแกรมมิ่งกัน เพื่อนำคอมโพเน็นต์ OpenGPSX มาใช้งาน ก่อนจะไปต่อผมขอพูดเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย เกี่ยวกับเรื่อง Baud rate กับ NMEA บางประโยคเช่น $GPGSV การต่อเครื่อง…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 2)

คอมโพเน็นต์ OpenGPSX Concept ของ component คือผู้พัฒนาโปรแกรมทั่วๆไปสามารถนำ component ของผมไปใช้งานได้ง่าย ใช้เวลาน้อย โดยไม่ต้องมีความรู้เรื่อง GPS มาก ผมเขียนคอมโพเน็นต์ตัวนี้ขึ้นมาเพราะผมใช้ GPS บ่อย ตั้งแต่เครื่องมือถือทั่วๆไปเช่น Garmin หรือบน Pocket PC…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมคำนวณแปลงพิกัดระหว่าง Datum ด้วยไลบรารี GDAL/OGR (ตอนที่ 2)

รูปด้านล่างแสดงตัว object ที่วางลงบนฟอร์มประกอบด้วย 2 combobox เก็บ datum ซึ่งผมจำกัดไว้แค่เท่าที่ประเทศไทยใช้กัน ส่วนตัวอื่นๆ ก็ไม่มีอะไรมาก มี Textbox จำนวน 4 ตัวสำหรับให้ผู้ใช้โปรแกรมกรอกค่าพิกัดที่ต้องการแปลง และ Label จำนวน 4 ตัวเพื่อแสดงค่าพิกัดที่แปลงแล้ว…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมคำนวณแปลงพิกัดระหว่าง Datum ด้วยไลบรารี GDAL/OGR (ตอนที่ 1)

ตอนก่อนนี้ ผมเขียนโปรแกรมทดสอบไลบรารี GDAL/OGR ด้วยการเปิดไฟล์รูปแล้วอ่าน Metadata, ระบบพิกัด ตลอดจนแปลงฟอร์แม็ตของไฟล์รูป จะเห็นถึงความสามารถของไลบรารี ที่เตรียมฟังก์ชั่นทุกสิ่งทุกอย่างครอบคลุมด้าน Geospatial ไว้พร้อมสรรพ และไม่ต้องแปลกใจที่โปรแกรมดังๆ เช่น Google Earth, ArcGIS, Quantum GIS ต่างก็นำไปใช้ ดูชื่อโปรแกรมที่นำไลบรารีไปใช้ …

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมทดสอบการใช้ไลบรารี GDAL/OGR

ตอนก่อนผมแนะนำไลบรารี GDAL/OGR ไปพอสมควร ตอนนี้มาเริ่มลองโปรแกรมมิ่งดูกัน โปรแกรมทดสอบผมดัดแปลงจากโค๊ดภาษาซี เป็น Lazarus ดูรายละเอียดโค๊ดภาษาซีได้ที่นี่ http://www.gdal.org/gdal_tutorial.html ส่วนไลบรารีส่วนมากแปลงจาก VB6 Download sourcecode สนใจก็ดาวน์โหลดได้ที่นี่ GDALTest1.zip ไลบราีรีที่ผมเขียน wrapper มามีทั้งหมด 11 ไฟล์…

Continue Reading →

ปฐมบท “GDAL/OGR “ สุดยอดไลบรารีสำหรับการพัฒนาโปรแกรม GIS

ตอนก่อนๆผมเคยแนะนำ GDAL (Geospatial Data Abstraction Library) เป็น Library แบบ opensource ใช้จัดการอ่านและเขียนภาพ (Raster) ที่อ้างอิงกับระบบพิกัดภูมิศาสตร์ ไลบรารีพัฒนาด้วยภาษา glibc/glibc++ ส่วน OGR ก็เช่นเดียวกันเป็นส่วนหนึ่งของ GDAL แต่ใช้กับจัดการกับไฟล์…

Continue Reading →