คอมไพล์และบิวท์ไลบราลี PROJ4 รุ่น 9.3.0 แบบเนทีฟสำหรับแอนดรอยด์

ตอนนี้น่าจะเป็นตอนที่ต่อจาก Dart & Flutter : เส้นทางขวากหนามกับไลบรารี PROJ แบบเนทีฟบนแอนดรอยด์ ครั้งก่อนผมคอมไพล์และบิวท์รุ่น 9.1.0 เพื่อนำไลบรารีมาใช้กับแอพ Ezy Geo Pro สำหรับแอนดรอยด์ ตอนนี้ผ่านมาหนึ่งปีผมต้องการอัพเดทไลบรารี PROJ4 รุ่น 9.3.0 ที่ตัวไลบรารีเองมีการแก้บั๊กซ์และเพิ่มฟีเจอร์ใหม่ๆ…

Continue Reading →

ทดสอบบินโดรนสำรวจ ด้วย Mini 3 Pro + Litchi Pilot Beta

DroneLink DJI รุ่นทดสอบ จากที่ DJI ได้ปล่อย MSDKV5 มาสักพักหนึ่ง Dronelink เป็นเสือปืนไว ปล่อยแอพออกมาก่อนชื่อ Dronelink DJI แต่จนถึงบัดนี้ ปัญหาคือแอพมันแครชจนผมผู้ใช้อ่อนอกอ่อนใจ ทางผู้พัฒนาก็บอกว่า SDK ของ DJI มีบั๊กยังไม่ได้แก้ไขทำให้แอพแครชบ่อย…

Continue Reading →

สร้างไฟล์ยีออยด์โมเดล TGM2017 สำหรับ Hi-Target (*.grd) ด้วย Python

ผมได้แปลงแบบจำลองยีออยด์ TGM2017 ไว้หลากหลายรูปแบบเพื่อให้สามารถนำไปใช้กับเครื่องรับสัญญาณ GNSS หรือโปรแกรมไว้หลากหลายเกือบจะครอบคลุมทั้งหมด ไม่นานมานี้มีผู้ใช้ของ Hi-Target แบรนด์จากจีนต้องการยีออยด์ในรูปแบบไฟล์แอสกี้ (*.grd) สังเกตุก่อนหน้านี้ไฟล์แบบจำลองความสูงยีออยด์จะเป็นไบนารีทั้งหมด เหตุผลที่ใช้ไบนารีคือเป็นไฟล์ที่เปิดอ่านไม่ได้ด้วยโปรแกรมทั่วๆไป นอกจากจะใช้ hex editor เพื่อปิดโอกาสไม่ให้ผู้ใช้เข้ามาแก้ไขไฟล์ ด้วยความเผลอเรอ จะทำให้โครงสร้างไฟล์เสียหาย รูปแบบข้อมูลไฟล์แอสกี้ (*.grd) สำหรับไฟล์แอสกี้…

Continue Reading →

ดาวค้างฟ้า DJI Phantom 4 Pro/Advanced กับโดรนมือสอง

ราชาแห่งโดรน DJI Phantom 4 Pro รุ่นแรกออกมาขายในปี 2559 ผ่านมาเจ็ดปี ยังเป็นดาวค้างฟ้าแห่งการบินถ่ายทำแผนที่ทางอากาศ เพราะอะไร วันนี้จะมาสาธยายกันให้ฟัง Mechanic Shutter เดือนพฤศจิกายน 2559 DJI ได้ปล่อยรุ่น Phamtom 4 Pro…

Continue Reading →

RTK ตระกูล Emlid สามารถใช้ TGM2017 ได้แล้วโดยตรง

ทางทีมงานผมได้ซื้อ Emlid RS2 มาสองเครื่อง ราคาเครื่องละ 80000 บาท รวมสองเครื่องก็ 160000 บาท ซึ่งถือว่าเป็นราคาที่ถูกมาก ราคาที่ถูกจะต้องแลกมากับบางอย่างซึ่งผมจะได้กล่าวต่อไป เครื่องมือสำหรับงาน Stake out จุดสลบของอุปกรณ์ RTK นอกจากเรื่องฮาร์ดแวร์แล้วยังมีเรื่องของซอฟแวร์ ได้แก่แอพที่จะใช้งาน construction…

Continue Reading →

พัฒนาแอพตัวที่ 2 SurveyStar COGO

กำเนิดคำว่า “COGO” คำว่า “COGO” เป็นคำย่อรัสพจน์ที่เกิดจากการนำเอาอักษรย่อของชื่อเฉพาะหรือวลีมารวมกัน โดยคำว่า CO คำแรกย่อมาจาก Coordinate คำที่สอง GO ย่อมาจาก Geometry ย้อนไปในราวปี 1950 – 1960 ศาสตราจารย์ชารล์ แอล มิลเลอร์…

Continue Reading →

เดโม “อาปาเช่ 4” เรือรีโมทคอนโทรล สำหรับสำรวจหยั่งน้ำ (Bathymetric survey)

ผมมีโอกาสได้ลองเรือ CHCNav รุ่นอาปาเช่ 4 เป็นเรือรีโมทคอนโทรล ทางทีมงานของ CHCNav มาเดโมให้ดู ส่วนผมเป็นผู้สังเกตุการณ์ด้านข้าง วันนี้จะมาพูดคุยถึงแง่มุมเรือรีโมทในมุมมองของผมที่ทำมาหากินในด้าน hydrographic survey มาหลายสิบๆปี ส่วนใหญ่งานก่อสร้างทางทะเลที่ผมทำงานอยู่ด้วยน้อยนักที่จะเจอทะเลเรียบยิ่งหน้ามรสุมไม่ต้องพูดถึงคลื่นแรงลมแรงและบางทีมีฝนตกหนักด้วย วันนี้สถานที่วิ่งเรือสำรวจด้วยอาปาเช่ 4 จะเป็นพื้นที่พิเศษเป็นพื้นที่ทางทะเลแต่คลื่นเรียบเนื่องจากพื้นที่ที่จะมาเดโมเรือจะเป็นพื้นที่ก่อสร้างถมทะเล ที่ตอนนี้ได้สร้างเขื่อนหินเป็นแกนล้อมรอบพื้นที่ที่จะถมทะเลในส่วนแกนหินนี้จะบดบังคลื่นจากธรรมชาติที่จะเข้ามาในพื้นที่นี้ทำให้พื้นผิวน้ำเรียบเหมือนทะเลสาบ ความลึกเฉลี่ยของน้ำทะเลประมาณอยู่ประมาณ 5…

Continue Reading →

บิน DJI Mini 3 Pro ทำแผนที่ด้วย Dronelink

ลงทะเบียนกับ DroneLink และจ่ายเงินค่าบริการ จากที่ SDK (Software Development Kit) ของ DJI ปล่อยมาไม่นาน Dronelink เป็นเสือปืนไว ปล่อยแอพรุ่นเบต้ามาให้ทดลองได้ก่อนเพื่อน ทำให้ผมตัดสินซื้อแพ็คเกจแบบงานอดิเรก (Hobbyist) ไป 49.99 US$ ถ้าสมมุติไม่ล้มหายตายจากกัน…

Continue Reading →

เมียงมองหาโดรนราคาถูกสำหรับงาน Photogrammetry

ตลาดของโดรนถ่ายภาพ ปัจจุบันตลาดของโดรนถ่ายรูปถ่ายวิดีโอได้แยกเป็นสามตลาดใหญ่ (ตามทัศนะของผมเองครับ) แยกเป็น คอนซูเมอร์ (Consumer) ที่เป็นของผู้ใช้ส่วนใหญ่ที่เน้นสันทนาการถ่ายรูป ถ่ายวีดีโอ อีกตลาดของคือพรีเมียม (Premium) ที่เป็นของผู้ใช้เฉพาะทางเช่นการถ่ายรูป ถ่ายวีดีโอที่มือโปรมากยิ่งขึ้น ตัวที่กำหนดคือราคา ราคาของ consumer จะอยู่ที่ประมาณ 10000 – 50000 บาท…

Continue Reading →

Sound Velocity Profiler (SVP) นั้นสำคัญไฉนกับงาน Bathymetric Survey

ในงานสำรวจหยั่งน้ำ Bathymetric survey ที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้าง ซึ่งบางงานต้องการ Accuracy ถึงระดับหลักเซนติเมตร งานก่อสร้างทางทะเลเช่นงานถมทะเล (Reclamation) ตลอดจนงานขุดลอก (Dredging) โดยเฉพาะงานขุดลอกถ้าเป็นงานใหญ่ๆระดับปริมาณขุดลอกเป็นล้านคิวขึ้นไป หรือถ้าปริมาณขุดลอกระดับสิบล้านคิวถือว่าเป็นงานใหญ่มากและซีเรียสเรื่อง Accuracy พอสมควร ความเร็วเสียงในน้ำ (Sound Velocity) โจทย์ก็คือจะทำอย่างไรให้งานสำรวจหยั่งน้ำได้ความถูกต้องขนาดนี้ สำหรับเครื่อง…

Continue Reading →