การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 2)

คอมโพเน็นต์ OpenGPSX Concept ของ component คือผู้พัฒนาโปรแกรมทั่วๆไปสามารถนำ component ของผมไปใช้งานได้ง่าย ใช้เวลาน้อย โดยไม่ต้องมีความรู้เรื่อง GPS มาก ผมเขียนคอมโพเน็นต์ตัวนี้ขึ้นมาเพราะผมใช้ GPS บ่อย ตั้งแต่เครื่องมือถือทั่วๆไปเช่น Garmin หรือบน Pocket PC…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 1)

ขออภัยที่เรื่อง “การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ตอน NMEA Parser ด้วย Lazarus (ภาค 1)” ทิ้งช่วงไว้นาน ผมจะเขียนเนื้อเรื่องต่อแต่ขอเปลี่ยนชื่อเป็น “การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 1)” เพื่อให้สัมพันธ์กับคอมโพเน็นต์ที่ผมพัฒนาขึ้นมา ขอให้ทราบตามนี้ครับ…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมคำนวณแปลงพิกัดระหว่าง Datum ด้วยไลบรารี GDAL/OGR (ตอนที่ 2)

รูปด้านล่างแสดงตัว object ที่วางลงบนฟอร์มประกอบด้วย 2 combobox เก็บ datum ซึ่งผมจำกัดไว้แค่เท่าที่ประเทศไทยใช้กัน ส่วนตัวอื่นๆ ก็ไม่มีอะไรมาก มี Textbox จำนวน 4 ตัวสำหรับให้ผู้ใช้โปรแกรมกรอกค่าพิกัดที่ต้องการแปลง และ Label จำนวน 4 ตัวเพื่อแสดงค่าพิกัดที่แปลงแล้ว…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมคำนวณแปลงพิกัดระหว่าง Datum ด้วยไลบรารี GDAL/OGR (ตอนที่ 1)

ตอนก่อนนี้ ผมเขียนโปรแกรมทดสอบไลบรารี GDAL/OGR ด้วยการเปิดไฟล์รูปแล้วอ่าน Metadata, ระบบพิกัด ตลอดจนแปลงฟอร์แม็ตของไฟล์รูป จะเห็นถึงความสามารถของไลบรารี ที่เตรียมฟังก์ชั่นทุกสิ่งทุกอย่างครอบคลุมด้าน Geospatial ไว้พร้อมสรรพ และไม่ต้องแปลกใจที่โปรแกรมดังๆ เช่น Google Earth, ArcGIS, Quantum GIS ต่างก็นำไปใช้ ดูชื่อโปรแกรมที่นำไลบรารีไปใช้ …

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมทดสอบการใช้ไลบรารี GDAL/OGR

ตอนก่อนผมแนะนำไลบรารี GDAL/OGR ไปพอสมควร ตอนนี้มาเริ่มลองโปรแกรมมิ่งดูกัน โปรแกรมทดสอบผมดัดแปลงจากโค๊ดภาษาซี เป็น Lazarus ดูรายละเอียดโค๊ดภาษาซีได้ที่นี่ http://www.gdal.org/gdal_tutorial.html ส่วนไลบรารีส่วนมากแปลงจาก VB6 Download sourcecode สนใจก็ดาวน์โหลดได้ที่นี่ GDALTest1.zip ไลบราีรีที่ผมเขียน wrapper มามีทั้งหมด 11 ไฟล์…

Continue Reading →

ปฐมบท “GDAL/OGR “ สุดยอดไลบรารีสำหรับการพัฒนาโปรแกรม GIS

ตอนก่อนๆผมเคยแนะนำ GDAL (Geospatial Data Abstraction Library) เป็น Library แบบ opensource ใช้จัดการอ่านและเขียนภาพ (Raster) ที่อ้างอิงกับระบบพิกัดภูมิศาสตร์ ไลบรารีพัฒนาด้วยภาษา glibc/glibc++ ส่วน OGR ก็เช่นเดียวกันเป็นส่วนหนึ่งของ GDAL แต่ใช้กับจัดการกับไฟล์…

Continue Reading →

การใช้ฐานข้อมูล SQLite กับ Lazarus ในเบื้องต้น (ตอนที่ 2)

ตอนที่แล้วผม post ตัวโค๊ดทั้งหมด มาดูคำอธิบายตรงสาระที่สำคัญ Declare ตัวแปรสำหรับ SQLite ที่ class ของ TfrmSetEllipsoid จะ declare เพื่อจัดการกับฐานข้อมูล SQLite ผม declare ทีส่วน private มีตัวแปร…

Continue Reading →

การใช้ฐานข้อมูล SQLite กับ Lazarus ในเบื้องต้น (ตอนที่ 1)

ตอนก่อนหน้านี้ผมพูดเรื่อง SQLite พร้อมทั้ง tools สำหรับ admin ที่หาได้ในวินโดส์ พร้อมทั้งการ Pump ข้อมูลจากไฟล์ CSV เข้าฐานข้อมูล ต่อไปนี้จะมาดูลึกเข้าไปอีกนิด จะมาเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับฐานข้อมูล ด้วย Lazarus ปัญหาของการพัฒนาโปรแกรมฐานข้อมูล SQLite ด้วย Lazarus…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณระยะทางและอะซิมัท (Distance/Azimuth) บน Ellipsoid ด้วย Lazarus (ตอนที่ 2)

ตอนที่แล้วได้แนะนำสูตรที่จะใช้ในการคำนวณและแสดงยูนิต GeodesicCompute พร้อมทั้งยูนิต GeoEllipsoids ที่เคยแสดงไปแล้วเรื่องการแปลงค่าพิกัดระหว่าง UTM และ Geographic เปิด Lazarus คลิกที่เมนเมนู Project > New Project… คลิกเลือก Application คลิก OK ตั้งค่า…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมคำนวณการแปลงค่าพิกัดระหว่าง UTM Grid และ Geographic (Lat/Long) ด้วย Lazarus และ Delphi (ตอนที่ 3)

จากตอนที่ 2 จะเห็นโค๊ดที่ผม post 2 unit คือ GeoEllipsoids.pas และ GeoCompute.pas ถ้าสนใจก็ copy ไปวางที่ Text Editor แล้ว Save ชื่อไฟล์ตามที่ผม เราจะเริ่มต้นสร้าง New…

Continue Reading →