แนะนำโปรแกรมคำนวณความสูงจีออยด์ (Geoid Height Pro) บน EGM96 และ EGM2008 (แจกให้ใช้ฟรี)

เปลี่ยนชื่อโปรแกรม สำหรับโปรแกรม Geoid Height Pro ชื่อเดิมคือ Geoid Height Calculator เนื่องจากชื่อเดิมไปพ้องกับโปรแกรมทางฝั่งอเมริกา เกรงจะมีปัญหาด้านลิขสิทธิ์ ก็ขอเปลี่ยนชื่อตามนี้ครับ ทำไมต้องคำนวณความสูงจีออยด์ เป็นที่ทราบกันว่าความสูงเมื่อวัดด้วย GPS จะเป็นความสูงที่อยู่บนทรงรีของ WGS84 เรียกว่า Ellipsoidal Height…

Continue Reading →

ขั้นตอนการติดตั้ง PostGIS/Postgresql บน Ubuntu Server

ความเป็นมา Postgresql อ่านออกเสียงว่า โพสเกรส เป็นระบบจัดการฐานข้อมูล RDBMS ซึ่งพัฒนาโดย PostgreSQL Global Development Group ในปี 2550 ลักษณะเป็น opensource มีลิขสิทธิ์แบบ BSD เป็นซอฟท์แวร์แบบ cross-platform ใช้ได้ทั้ง Windows,…

Continue Reading →

การนำเข้าข้อมูลจากไฟล์ CSV เป็นลายเส้น Polygon ใน QGIS

การนำเข้าข้อมูลจากไฟล์ CSV เป็นลายเส้น Polygon ก็ถือว่าเป็นทิปและทริคเล็กๆน้อยๆ ในกรณีสร้าง Vector ที่เป็นรูป Polygon จากข้อมูลดั้งเดิมที่เป็นไฟล์ Excel แล้วแปลงเป็น CSV นำมาสร้างเป็นรูป Vector ใน Quantum GIS ซึ่งโปรแกรมด้าน GIS…

Continue Reading →

การสร้าง DEM จาก 3D Points ด้วย VTBuilder

VTBuilder ก่อนหน้านี้ผมเคยเขียนเรื่องการสร้าง DEM จาก 3D Points (จาก text file) โดยใช้โปรแกรมเชิงพาณิชย์อย่าง Global Mapper ซึ่ง Global Mapper ก็ทำไว้ได้อย่างสุดยอด มาลองดู tools ที่ฟรีดูบ้าง ที่ผมจะแนะนำชื่อ…

Continue Reading →

SAGA GIS สุดยอดโปรแกรมวิเคราะห์ Terrain

SAGA GIS (System for Automated Geoscientific Analyses) ดูชื่อโปรแกรมแล้วผมค่อนข้างงงเล็กๆ สำหรับชื่อ Geoscientific เปิดดิคไม่พบน่าจะเป็นการผสมกันระหว่าง Geo กับ Scientific รวมๆแล้วน่าจะว่าหมายถึง วิทยาศาสตร์ธรณ๊ รวมๆแล้วชื่อโปรแกรมน่าจะเป็นโปรแกรมวิเคราะห์ด้านวิทยาศาสตร์ธรณี อะไรประมาณนี้ สนใจเข้าไปดูได้ website…

Continue Reading →

การสืบค้น (Query) ข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วย Spatialite (ตอนที่ 1)

ตอนที่แล้วผมเสนอเรื่องการแปลงไฟล์ CSV เป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ หรือเรียกกันว่า Spatial converter ฟีเจอร์ตัวนี้สามารถทำได้ง่ายๆในโปรแกรมด้าน GIS เช่น MapWindow (ข้อสำคัญคือในข้อมูล CSV นั้นต้องมีคอลัมน์ X, Y เก็บค่าพิกัดด้วย) แต่ใน spatialite ใช้คำสั่ง query…

Continue Reading →

แปลงข้อมูล CSV เป็นฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วย Spatialite

ข้อมูลทดสอบ เขียนเรื่อง spatialite มา 2-3 ตอนแล้ว มาดูในตอนนี้สมมติว่ามี text file ที่เป็นรูปแบบ csv คั่นฟิลด์หรือคอลัมน์ด้วยเครื่องหมายคอมมา (,) ในข้อมูลมีคอลัมน์ค่าพิกัด X และ Y ด้วย เราจะมาแปลงเป็นฐานข้อมูลของ spatialite…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 5)

ทดสอบ OpenGPSX บน Ubuntu มาลองทดสอบกันบน Ubuntu Lucid ก็เริ่มจากดาวน์โหลดคอมโพเน็นต์ มาก่อน ทำการติดตั้งเหมือนในวินโดส์ ที่ผมกล่าวไปแล้ว เนื่องจากโค้ดของ Lazarus เป็น cross-platform โค้ดที่ใช้ใน Windows ก็สามารถนำมาใช้ได้เลยใน Linux แต่ติดขัดตรงโปรแกรมที่จะใช้ทดสอบ…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมต่อ GPS ด้วยคอมโพเน็นต์ OpenGPSX (ภาค 2)

คอมโพเน็นต์ OpenGPSX Concept ของ component คือผู้พัฒนาโปรแกรมทั่วๆไปสามารถนำ component ของผมไปใช้งานได้ง่าย ใช้เวลาน้อย โดยไม่ต้องมีความรู้เรื่อง GPS มาก ผมเขียนคอมโพเน็นต์ตัวนี้ขึ้นมาเพราะผมใช้ GPS บ่อย ตั้งแต่เครื่องมือถือทั่วๆไปเช่น Garmin หรือบน Pocket PC…

Continue Reading →

มาลองใช้ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ Spatialite ที่ทั้งเล็ก เร็ว และแรง ตอนที่ 2

ก่อนจะไปต่อผมอยากจะพูดถึงงาน FOSS4G 2010 มีการ present เรื่อง  “SpatiaLite, the Shapefile of the Future?” ตั้งเครื่องหมายคำถามไว้ด้วยว่า Spatialite จะเป็น shapefile ในอนาคตหรือไม่ ซึ่งที่ผ่านมาก็หลายปีแล้วครับ ที่ฐานข้อมูลแบบ Geodatabase…

Continue Reading →