มาลองใช้ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ Spatialite ที่ทั้งเล็ก เร็ว และแรง ตอนที่ 1

ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ที่กำลังดีวันดีคืน แต่ฐานข้อมูลจะดีแค่ไหนก็ตาม แต่ถ้า Application ทั้งหลายไม่สนับสนุนก็ยากที่จะอยู่ได้ หันมาดู Spatialite ตอนนี้ใน Quantum GIS สนับสนุนฐานข้อมูลนี้ในระดับที่พอใช้ได้ ก็คือสนับสนุนในระดับที่จำกัดที่ผมพบมาคือจะมองข้อมูล BLOB (Binary Large Object) ของ spatialite ซึ่งเป็นรูปถ่ายเป็น NULL…

Continue Reading →

Landserf อีกโปรแกรมดู Terrain เด่นด้านการวิเคราะห์ภูมิประเทศ (Terrain Analysis) ตอนที่ 2

จากตอนที่ 1 จะเห็นว่าการแปลงจาก DEM เป็น TIN นั้นไม่น่าประทับใจนักถ้าจะได้ผลลัพธ์ที่ละเอียด โปรแกรมจะใช้เวลา generate นานมาก แต่อย่างไรก็ตามผู้อ่านจะลองก็ได้ การวิเคราะห์ Terrain การวิเคราะห์ Slope มาดูฟีเจอร์เด่นของ Landserf กัน ผมจะลองเพียงบางฟีเจอร์ที่เด่ินๆเท่านั้นมาดูตัวแรกคือ การวิเคราะห์ที่อยู่ในหมวดหมู่…

Continue Reading →

Landserf อีกโปรแกรมดู Terrain เด่นด้านการวิเคราะห์ภูมิประเทศ (Terrain Analysis) ตอนที่ 1

ห่างหายไปพอสมควรครับ ผมเพิ่งกลับจากนอร์เวย์ ดินแดนพระอาทิตย์เที่ยงคืน  ตื่นตาตื่นใจเพราะเป็นครั้งแรกที่มาประเทศในย่านแสกนดิเนเวีย เป็นประเทศที่ติดอันดับค่าครองชีพสูงที่สุดในยุโรป ติดอันดับประเทศที่น่าอยู่ที่สุดหลายปีซ้อน แต่นอร์เวย์ประชากรน้อยมากไม่ถึง 5 ล้านคน มองดูนอร์เวย์แล้วย้อนมาดูเมืองไทย ต่างกันเหลือเกิน เมืองไทยวุ่ยวายเหลือเกินไม่รู้จักจบ ที่นั่นผมพบว่าสงบเงียบ จนบางครั้งหาคนไม่เจอ นี่ฮาจริงๆเลยนะ ผมอยู่ที่เมือง Halden ห่างจากเมืองหลวง Oslo ประมาณ…

Continue Reading →

Terrain Bender โปรแกรมแสดง DEM ที่บรรเจิดสุดๆ

ช่วงไม่นานมานี้ผม search ใน google พบกับโปรแกรมแสดงการจำลอง DEM เป็น 3D คือโปรแกรม Terrain Bender เห็นโปรแกรมต้องทึ่งในไอเดีย ครั้งแรกๆที่ผมเห็นใน website ผมคิดว่าคนพัฒนาโปรแกรมต้องเพี๊ยนสุดๆ ลองดูรูปจาก website ตัวโปรแกรมเป็น cross-platform มีให้ดาวน์โหลดใช้บน…

Continue Reading →

การคำนวณความสูง Geoid โดยใช้ EGM96 และ EGM2008

ขอพักเรื่องโปรแกรมมิ่งสักตอนเพราะว่า เขียนเกี่ยวกับเรื่องโปรแกรมมิ่งต้องใช้พลังความคิดมาก นอกจาก library “GDAL” ที่ผมกำลังเขียนถึง ซึ่งมีแง่มุมให้เขียนเกี่ยวกับการใช้งานได้เป็นร้อยๆตอนเลยละครับ ถ้ามีแรงกายและใจขนาดนั้น ถ้ายังจำกันได้คือ GeographicLib ของ Charles Karney ที่เคยอ้างอิงถึงไปแล้ว มีเรื่องอีกเรื่องที่น่าสนใจคือ การคำนวณ Geoid Height ซึ่งดูโค๊ดของ Charles…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมคำนวณแปลงพิกัดระหว่าง Datum ด้วยไลบรารี GDAL/OGR (ตอนที่ 2)

รูปด้านล่างแสดงตัว object ที่วางลงบนฟอร์มประกอบด้วย 2 combobox เก็บ datum ซึ่งผมจำกัดไว้แค่เท่าที่ประเทศไทยใช้กัน ส่วนตัวอื่นๆ ก็ไม่มีอะไรมาก มี Textbox จำนวน 4 ตัวสำหรับให้ผู้ใช้โปรแกรมกรอกค่าพิกัดที่ต้องการแปลง และ Label จำนวน 4 ตัวเพื่อแสดงค่าพิกัดที่แปลงแล้ว…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมคำนวณแปลงพิกัดระหว่าง Datum ด้วยไลบรารี GDAL/OGR (ตอนที่ 1)

ตอนก่อนนี้ ผมเขียนโปรแกรมทดสอบไลบรารี GDAL/OGR ด้วยการเปิดไฟล์รูปแล้วอ่าน Metadata, ระบบพิกัด ตลอดจนแปลงฟอร์แม็ตของไฟล์รูป จะเห็นถึงความสามารถของไลบรารี ที่เตรียมฟังก์ชั่นทุกสิ่งทุกอย่างครอบคลุมด้าน Geospatial ไว้พร้อมสรรพ และไม่ต้องแปลกใจที่โปรแกรมดังๆ เช่น Google Earth, ArcGIS, Quantum GIS ต่างก็นำไปใช้ ดูชื่อโปรแกรมที่นำไลบรารีไปใช้ …

Continue Reading →

เปรียบเทียบ ASTER GDEM (30m) กับ SRTM DEM (90m)

SRTM DEM SRTM (Shuttle Radar Topography Mission) DEM ของ NASA จัดทำโดย NASA เปิดให้บริการฟรีตั้งแต่ปี 2003 ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 80% ของพื้นที่โลก ขนาด pixel ของ…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมทดสอบการใช้ไลบรารี GDAL/OGR

ตอนก่อนผมแนะนำไลบรารี GDAL/OGR ไปพอสมควร ตอนนี้มาเริ่มลองโปรแกรมมิ่งดูกัน โปรแกรมทดสอบผมดัดแปลงจากโค๊ดภาษาซี เป็น Lazarus ดูรายละเอียดโค๊ดภาษาซีได้ที่นี่ http://www.gdal.org/gdal_tutorial.html ส่วนไลบรารีส่วนมากแปลงจาก VB6 Download sourcecode สนใจก็ดาวน์โหลดได้ที่นี่ GDALTest1.zip ไลบราีรีที่ผมเขียน wrapper มามีทั้งหมด 11 ไฟล์…

Continue Reading →