Surveyor Pocket Tools – คำนวณพื้นที่ เรื่องธรรมดาที่ไม่ธรรมดา (ตอนที่ 1)

Surveyor Pocket Tools เป็นโปรแกรมที่รวบรวมเครื่องมือเล็กเครื่องมือน้อยสำหรับช่างสำรวจ ตอนนี้เพิ่มการคำนวณหาพื้นที่ หลากหลายประเด็นที่จะมาคุยกันว่ามันควรจะง่ายธรรมดาแต่มันไม่ธรรมดาอย่างไร ย้อนรอยสูตรคำนวณหาพื้นที่ Surveyor Pocket Tools รุ่นก่อนหน้านี้ส่วนใหญ่จะเป็นงานคำนวณในงานเซอร์เวย์เรื่อง Advance เช่นงานคำนวณหาระยะทางบน Ellipsoid งานคำนวณหาความสูงของจีออยด์ การแปลงพิกัด ตอนนี้จะกลับมาเรื่องพื้นฐานคือการคำนวณหาพื้นที่ การคำนวณหาพื้นที่ ปกติที่เราคุ้นหูคุ้นตาคือ การเอาค่าพิกัด…

Continue Reading →

Surveyor Pocket Tools โปรแกรมรวมเครื่องมือฉบับกระเป๋าสำหรับช่างสำรวจ (แจกฟรี) – ตอนที่ 4 (ตอนจบ)

ผ่านไปแล้วสามโปรแกรมย่อยๆ นี่คือโปรแกรมที่สี่ โปรแกรม  EGM คำนวณหาค่า Geoid Separation ไม่ใช่โปรแกรมสุดท้ายนะครับ เพราะ Surveyor Pocket Tools จะเพิ่มโปรแกรมพื้นฐานสำหรับช่างสำรวจต่อไปเรื่อยๆ โปรแกรมนี้ผมเคยเขียนมาแล้วชุดใหญ่ใช้ชื่อว่า Geoid Height Pro  ลองดูด้านขวามือตรง Download เป็นโปรแกรมที่มีกราฟฟิคให้ดูด้วยเมื่อป้อนค่าพิกัด…

Continue Reading →

Surveyor Pocket Tools โปรแกรมรวมเครื่องมือฉบับกระเป๋าสำหรับช่างสำรวจ (แจกฟรี) – ตอนที่ 3

Geodesic Distance ผ่านไปแล้วสองโปรแกรม วันนี้มาว่ากันเรื่องโปรแกรมวัดระยะทางที่กำหนดค่าพิกัดให้สองจุด การวัดระยะทางไปตามผิวของทรงรีแนวที่สั้นที่สุดเรียกว่า Geodesic distance ใช้ค่าพิกัดภูมิศาสตร์ แลตติจูดและลองจิจูด ถ้าเป็นระบบกริดอยู่ในโซนเดียวกัน ศูนย์กำเนิดเดียวกันสามารถหาระยะทางได้จากสูตรง่ายๆ ที่ผมเรียนกันตอนมัธยมต้น (หลักสูตรสมัยใหม่ประถมก็เรียนแล้ว)  ระยะทาง = √((x2−x1)²+(y2−y1)²) มาดูโปรแกรม Geodesic distance เรียงจากบนลงมาไอคอนที่สาม…

Continue Reading →

Surveyor Pocket Tools โปรแกรมรวมเครื่องมือฉบับกระเป๋าสำหรับช่างสำรวจ (แจกฟรี) – ตอนที่ 2

ตอนที่ 1 ผมได้แนะนำโปรแกรมย่อย UTM – Geo Converter สำหรับแปลงพิกัดบนพื้นหลักฐาน WGS84 มาถึงตอนนี้จะมาดูโปรแกรมแปลงพิกัดข้ามพื้นหลักฐาน (datum) กันว่าเป็นอย่างไร จากรูปด้านล่าง ดับเบิ้ลคลิกที่โปรแกรมที่สอง “Transform Coordinates“  เปิดโปรแกรมมาจะมีช่อง input/output ด้านซ้ายและด้านขวา ตรงกลางจะมีไอคอนลูกศรแสดงการแปลงพิกัดจากซ้ายไปขวาหรือจากขวามาซ้ายก็ได้…

Continue Reading →

สิ้นสุดการรอคอย XSection Plot รุ่น 4.10 มาแล้ว ตอนที่ 3 (จบ)

10.การจัดเรียงรูปตัดบนกระดาษเขียนแบบ (Page Layout) การจัดเรียงรูปตัด เลือกทูลบาร์และคลิกที่ “Page layout” ได้ดังรูป ความยาวของรูปตัดแต่ละรูปตัด ความกว้างในแนวดิ่ง มาตราส่วน จะมีผลต่อขนาดของรูปตัดแต่ละรูป ที่่จะวางบนกระดาษเขียนแบบ  การจัดเรียงรูปตัดให้เหมาะสม ผู้ใช้สามารถเลือกจำนวนรูปตัดในแนวดิ่ง จำนวนรูปตัดในแนวนอน ลองตั้งค่าตามรูปด้านล่าง เนื่องจากข้อมูลที่เรากำลังทดลองใช้งานอยู่มี 4 รูปตัดและความกว้างของรูปตัดประมาณ…

Continue Reading →

สิ้นสุดการรอคอย XSection Plot รุ่น 4.10 มาแล้ว ตอนที่ 2

6.เปิดไฟล์ข้อมูล (Open file) ขั้นตอนต่อไปจะมาเปิดไฟล์ข้อมูล เริ่มจากไฟล์ Typical section ที่จัดเก็บไว้ใน Documents ขั้นตอนตามรูปด้านล่าง ขั้นตอนที่ 3 เลือกประเภทของไฟล์เป็น .txml โปรแกรมจะอ่านข้อมูล และแสดงผลบนตารางในแท็บ “Typical section” ต่อไปเช่นเดียวกันเปิดไฟล์ Existing…

Continue Reading →