ปฐมบท “GDAL/OGR “ สุดยอดไลบรารีสำหรับการพัฒนาโปรแกรม GIS

ตอนก่อนๆผมเคยแนะนำ GDAL (Geospatial Data Abstraction Library) เป็น Library แบบ opensource ใช้จัดการอ่านและเขียนภาพ (Raster) ที่อ้างอิงกับระบบพิกัดภูมิศาสตร์ ไลบรารีพัฒนาด้วยภาษา glibc/glibc++ ส่วน OGR ก็เช่นเดียวกันเป็นส่วนหนึ่งของ GDAL แต่ใช้กับจัดการกับไฟล์…

Continue Reading →

GeoViewer และ ER Viewer สองสุดยอดเครื่องมือดูไฟล์รูปขนาดใหญ่

บางครั้งบางโอกาส เวลาได้รับภาพถ่ายดาวเทียมที่มีขนาดใหญ่ระดับ 500 Megabyte ขึ้นไปต้องการโปรแกรมเล็กๆอะไรสักอย่างที่สามารถเปิดไฟล์ได้อย่างรวดเร็ว ผมขอแนะนำสองโปรแกรมคือ GeoViewer ของ LizardTech และ ER Viewer ของ Erdas เรามาลองวัดดูว่าสองโปรแกรมนี้ใครจะแน่กว่ากัน Download and Install ER Viewer…

Continue Reading →

การผสมสี (Band Combination) ภาพถ่ายดาวเทียมด้วยโปรแกรม HighView

สำหรับการผสมสี (Band combination) ภาพถ่ายดาวเทียมในตอนนี้ ถือเป็นกรณีศึกษา (case study) ก็แล้วกัน คือภาพถ่ายดาวเทียมแต่ละดวงเช่น Landsat,  Alos, Quickbird, Ikonos, Spot-5 ภาพดั้งเดิมจะแยกเป็น Band กัน ที่เราเห็นส่วนใหญ่จะถูกผสมมาให้เรียบร้อยแล้ว ผมจะขอใช้ภาพถ่ายดาวเทียม Landsat…

Continue Reading →

การใช้ฐานข้อมูล SQLite กับ Lazarus ในเบื้องต้น (ตอนที่ 2)

ตอนที่แล้วผม post ตัวโค๊ดทั้งหมด มาดูคำอธิบายตรงสาระที่สำคัญ Declare ตัวแปรสำหรับ SQLite ที่ class ของ TfrmSetEllipsoid จะ declare เพื่อจัดการกับฐานข้อมูล SQLite ผม declare ทีส่วน private มีตัวแปร…

Continue Reading →

การใช้ฐานข้อมูล SQLite กับ Lazarus ในเบื้องต้น (ตอนที่ 1)

ตอนก่อนหน้านี้ผมพูดเรื่อง SQLite พร้อมทั้ง tools สำหรับ admin ที่หาได้ในวินโดส์ พร้อมทั้งการ Pump ข้อมูลจากไฟล์ CSV เข้าฐานข้อมูล ต่อไปนี้จะมาดูลึกเข้าไปอีกนิด จะมาเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับฐานข้อมูล ด้วย Lazarus ปัญหาของการพัฒนาโปรแกรมฐานข้อมูล SQLite ด้วย Lazarus…

Continue Reading →

การสร้าง 3D Anaglyph ด้วย MicroDem

ตอนที่แล้วผม post การทำ animation (flyby) ด้วย 3Dem ซึ่งโปรแกรมได้หยุดพัฒนาไปแล้ว มาดู Tools ที่ฟรีตัวต่อไป ที่นำมาใช้งานด้าน GIS เป็นโปรแกรมรุ่นเก่าเหมือนกัน แต่ตัวนี้ยังพัฒนาต่อเนื่อง และ MicroDem นี้มี feature ที่แฝงอยู่เป็นจำนวนมาก…

Continue Reading →

การจำลองภาพเคลื่อนไหวมุมสูง (Flyby) 3D ด้วย Tools ฉบับกระเป๋า 3DEM

3Dem เป็นโปรแกรมขนาดเล็กมาก จะเรียกว่าฉบับกระเป๋าก็ได้ เขียนโดย Richard Horne ตอนนี้หยุดพัฒนาไปแล้วครับ ถึงจะหยุดพัฒนาไปแล้วแต่ก็ยังหา download ได้หลาย website เช่นที่นี่  3dem_setup.exe โปรแกรม 3DEM เมื่อออกมาใหม่ๆเป็นที่กล่าวขานพอสมควร คือออกมานานมากตั้งแต่ Windows 95 นู่นครับ…

Continue Reading →

แนะนำการใช้ฐานข้อมูล SQLite กับ Lazarus

ข้อดีของ SQLite พัฒนาโดย D. Richard Hipp ด้วยภาษา C จำนวนโค๊ดรวมๆแล้วประมาณสามหมื่นกว่าบรรทัด ซึ่งผู้พัฒนาได้รับคำชมว่าเป็นผู้ที่เข้าใจในวิทยาการด้านคอมพิวเตอร์อย่างลึกซึ้ง สำหรับ SQLite น่าจะเป็นฐานข้อมูลที่นิยมใช้กันมากที่สุดในโลก เนื่องจาก เล็ก เร็ว แรง และที่สำคัญมากคือ เสถียร และข้อดีอีกที่ไม่พูดไม่ได้คือ…

Continue Reading →

การเขียนโปรแกรมเพื่อคำนวณระยะทางและอะซิมัท (Distance/Azimuth) บน Ellipsoid ด้วย Lazarus (ตอนที่ 2)

ตอนที่แล้วได้แนะนำสูตรที่จะใช้ในการคำนวณและแสดงยูนิต GeodesicCompute พร้อมทั้งยูนิต GeoEllipsoids ที่เคยแสดงไปแล้วเรื่องการแปลงค่าพิกัดระหว่าง UTM และ Geographic เปิด Lazarus คลิกที่เมนเมนู Project > New Project… คลิกเลือก Application คลิก OK ตั้งค่า…

Continue Reading →